![]() ติดตามรับชมภาพเกี่ยวกับเชียงคำของเราผ่านเฟรชบุ๊ค คลิ๊กตรงภาพแผนที่ได้เลยครับ |
คำขวัญเมืองเชียงคำ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เมืองแห่งธรรมะ มีพระนั่งดิน ถิ่นทอน้ำไหล ผ้าทอไทลื้อ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
น้ำตกเลื่องลือ คะแนงน้ำมิน ป่าไม้ผืนดิน อุดมสมบูรณ์ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประวัติและข้อมูลทั่วไป |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อำเภอเชียงคำ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพะเยา ตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำลาว แม่น้ำยวน และแม่น้ำแวน ซึ่งเป็นลุ่มน้ำย่อยของลุ่มแม่น้ำอิง ในอดีตเป็นแอ่งอารยธรรมของชุมชนที่มีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับสายน้ำ ความเป็นมาของอำเภอเชียงคำ ปรากฏในรูปแบบตำนาน 2 ตำนานในสมัยพุทธกาลที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า ตามตำนานพระธาตุดอยคำ ฉบับวัดหนองร่มเย็น เมืองเชียงคำมีชื่อเดิมว่า เวียงชะราว ตั้ง อยู่ในพื้นที่บ้านคุ้มหมู่ 6 ตำบลร่มเย็น อำเภอเชียงคำ พระยาผู้ปกครองเมืองได้สร้างพระธาตุไว้บนดอยนอกเมืองเพื่อล้างบาป ต่อมามีผู้พบแหล่งทองคำขนาดใหญ่ ในลำธารหลังดอย ดอยนั้นได้ชื่อว่า “ดอยคำ” พระธาตุบนดอยก็ชื่อว่า “พระธาตุดอยคำ” เมืองชะราวก็เปลี่ยนชื่อเป็น “เมืองเชียงคำ” แต่ทางตำนานพระเจ้านั่งดิน พญาผู้สร้างเมืองชื่อว่า “พญาคำแดง” และเมืองนั้นชื่อ “พุทธรส” ประชาชนชาวเมือง มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ได้สร้างพระพุทธรูปมีนามว่า “พระเจ้านั่งดิน” พระพุทธเจ้าทำนายว่า สืบไปภายหน้าเมืองจะเจริญรุ่งเรือง และอุดมไปด้วยสินทรัพย์และจะได้ชื่อว่า “เมืองเชียงคำ” เดิมทีเป็นเมืองหน้าด่านขนาดเล็ก มีคูน้ำคันดินล้อมรอบ 2 เวียง มีเมืองเก่าอยู่ที่เมืองพุทธรส หรือ บ้านคุ้ม ตำบลร่มเย็นในปัจจุบัน แต่สภาพบ้านเมืองคับแคบ จึงได้ย้ายเมืองมาสร้างยังเมืองใหม่ บริเวณบ้านเวียง ตำบลเวียงในปัจจุบัน ประชากรกลุ่มหลักเป็นชาวไตยวน หรือ คนเมืองล้านนาเิม มีวัดที่สำคัญคือ วัดพระธาตุดอยคำ วัดพระนั่งดิน และวัดเวียงพระแก้ว หลักฐานทางโบราณคดี เมืองเชียงคำมีถูกสร้างขึ้นใน สมัยพุทธศตวรรษที่ 17 (ราวปี พ.ศ. 1600-1700) ในช่วงต้นถูกปกครองขึ้นตรงต่ออาณาจักรภุกาม และต่อมาก็ขึ้นตรงต่อเมืองน่าน ในสมัยต่อมาในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ เจ้าเมืองทางอาณาจักรล้านนา ได้ขึ้นไปปราบการจลาจลแถบแคว้นสิบสองปันนา ทำให้เจ้าเมืองเหล่านั้น ได้พากันกวาดต้อนชาวไทลื้อจากสิบสองปันนาอยู่ในล้านนาจำนวนมาก อันเป็นยุคของ “การเก็บผักใส่ช้า เก็บข้าใส่เมือง” ทำให้เมืองเชียงคำของเรา มีประชากรชนชาติพันธุ์ไทลื้อมีมากรองลงมาจาก คนพื้นเมืองดั้งเดิมคือชาวไตยวน นอกจากนั้นแล้ว เชียงคำของเรายังมีชนชาติพนธุ์หลายหลายรวมๆแล้ว มีอยู่ด้วยกัน 8 ชนชาติพันธุ์ด้วยกัน อำเภอเชียงคำ ได้ผ่านเรื่องราวทางประวัติศาสตร์มาอย่างมากมาย และเรื่องราวหลายเรื่องราวได้สูญหายไปในสมัยที่ล้านนา ได้ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า ทำให้หลักฐานบันทึกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์หลายอย่างถูกทำลายไป หลังจากบ้านเมืองสงบ ก็เริ่มมีการพลิกฟื้นขึ้นมาใหม่จวบจนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ประเทศไทยจัดระบบการปกครองแผ่นดินส่วนภูมิภาคเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาล จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ครั้งนั้น อำเภอเชียงคำอยู่ในแขวงน้ำลาว (รวมพื้นที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงรายอยู่ด้วย) พื้นที่ในเขตการปกครองของจังหวัดน่าน โดยมี เจ้าสุริยวงศ์ ดำรงตำแหน่งข้าหลวงประจำแขวง ที่ว่าการแขวงตั้งอยู่ ณ วัดพระแก้ว บ้านเวียง ม.6 ตำบลเวียง อำเภอเชียงคำ ต่อมาทางราชการ ได้ยุบและปรับปรุงแขวงน้ำลาว โดยจัดเป็นบริเวณน่านเหนือ มีเขตการปกครองครอบคลุมพื้นที่อำเภอเชียงคำ อำเภอปง จังหวัดพะเยา อำเภอเทิง และบางส่วนของอำเภอเชียงของจังหวัดเชียงราย ในสมัยที่ประเทศชาติมหาอำนาจทางตะวันตก หรือในยุคที่ล่าอาณานิคม เข้ามาล่าเมืองขึ้นในแถบเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ทำให้ในหลายๆประเทศ ได้ตกเป็นเมืองงขึ้น เช่น อังกฤษได้ยึดพม่าและแหลมมาลายูทางใต้ไว้เป็นเมืองขึ้น ชาวฝั่งเศสยึดญวน เขมรและประเทศลาวไว้ได้ ดังนั้น ทางสยามประเทศ จึงจำเป็นต้องปฏิรูปการปกครองประเทศเพื่อปกป้องเอกราชและอธิปไตยของประเทศ โดยที่มีลำดับเหตุการณ์เรียงตามปี พุทธศักราช ได้ดังนี้ พ.ศ. 2416 ได้เกิดคดีพิพาทในเรื่องการสัมปทานป่าไม้ ระหว่างคนในบังคับของอังกฤษกับเจ้านายในอาณาจักรล้านนา ซึ่งถือเป็นประเทศราชของสยาม รัฐบาลกลางของสยาม จึงได้เข้ามามีบทบาทในการจัดการการปกครองล้านนาอย่างเบ็ดเสร็จ เพื่อป้องกันไม่ให้อังกฤษเข้ามาแทรกแซงอธิปไตยในล้านนาสืบไป พ.ศ. 2416 ได้มีการเริ่มส่งข้าหลวงเข้ามาปกครองสามหัวเมืองหลัก คือมาควบคุมดูแลเมืองเชียงใหม่ ลำปาง และลำพูน ต่อมาขยายออกไปยังเมืองน่านและแพร่ เป็นข้าหลวงห้าหัวเมือง และได้พัฒนาตั้งให้เป็นหัวเมืองลาวเฉียง มณฑลลาวเเฉียง มณฑลตะวันนตกเฉียงเหนือ และมณฑลพายัพ เมื่อปี พ.ศ. 2440 (ร.ศ.116) ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีการประกาศใช้ พรบ.ปกครองท้องที่ ร.ศ. 116 กำหนดให้มีหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ ในหัวเมืองทั่วทุกมณฑล เทศาภิบาล |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เมื่อปี พ.ศ. 2441 (ร.ศ. 117) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศไทย จัดระเบียบการปกครองแผ่นดินในภูมิภาคเป็นมณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบลและหมู่บ้าน ครั้งนั้น อำเภอ เชียงคำแขวงน้ำลาว (รวมพื้นที่อำเภอเทิง อำเภอเชียงของ จ.เชียงราย ใน ปัจจุบันด้วย) ขึ้นในเขตการปกครองของจังหวัดน่าน โดยมีเจ้าสุริวงศ์ ดำรง ตำแหน่งข้าหลวง ที่ว่าการแขวงตั้งอยู่ ณ บ้านเวียงพระแก้ว ปัจจุบันเป็นบ้านเวียง ม.6 ต.เวียง อ.เชียงคำ เมื่อปี พ.ศ. 2442 (ร.ศ. 118) กระทรวงมหาดไทย ได้แบ่งเขตการปกครองเมืองน่านเป็น 8 แขวง คือ
พ.ศ. 2443 ทางราชการได้ออกข้อบังคับ สำหรับการปกครองมณฑลพายัพ ร.ศ. 119 (พ.ศ.2443) กำหนดให้ใช้ พ.ร.บ. ลักษณะการปกครองท้องที่ ร.ศ. 116 (พ.ศ.2440) ในมณฑลพายัพทุกมาตรา เพียงแต่ให้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งต่างๆ เป็น เจ้าสนามหลวง อำเภอเรียกเป็น แขวง, นายอำเภอ เรียกว่า นายแขวง, ตำบลเรียกว่า แคว้น, กำนันเรียกว่า นายแคว้น และผู้ใหญ่บ้านเรียกว่า แก่บ้าน เมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2445 (ร.ศ. 121) เกิดกบฎเงี้ยวเข้าปล้นราษฎรและทำลายทรัพย์สินทางราชการ เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) แม่ทัพใหญ่ได้ส่งพระยาดัสกรปลาสเป็นแม่ทัพขึ้นมาปราบกบฎเงี้ยวถึงเมืองเชียงคำ เมื่อปราบกบฎเงี้ยวได้แล้ว พระยาดัสกรปลาส ได้เห็นที่ตั้งแขวงเมืองเชียงคำนั้นคับแคบเกินไป ไม่มีพื้นที่รองรับการขยายตัวของชุมชนได้ในอนาคต จึงได้ย้ายที่ว่าการแขวง มา ตั้ง ณ บ้านหย่วน ต.หย่วน อ.เชียงคำ อ.ปง จ.พะเยา อ.เทิง อ.เชียงของ จ.เชียงราย และเมืองคอบ (ปัจจุบันอยู่ในเขต สปป.ลาว) เข้าด้วยกัน พร้อมแต่งขุนพรานไพรีรณ ดำรงตำแหน่งข้าหลวงบริเวณน่านเหนือ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2445 (ร.ศ. 121) เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ได้สั่งให้กองทหารไปปราบพวกเงี้ยวที่เชียงคำ และให้กองทหารจากลำปาง ตีโอบจากพะเยาลงมา ส่วนเจ้าพระยาอนุชิตชาญชัยได้สั่งให้ ร.อ. ฮันส์ มาร์กวอร์ด เจนเซน คุมกำลังตำรวจนครสวรรค์ไปปราบเงี้ยวที่พะเยา เมื่อปี พ.ศ.2446 (ร.ศ. 122) ได้มีการตั้งเขตปกครองพิเศษ ที่มีระดับอยู่ระหว่าง มณฑลกับจังหวัด เรียกว่า “บริเวณ” เชียงคำ อยู่ในบริเวณน่านเหนือ ประกอบด้วย เมืองเชียงของ, เมืองเทิง, เมืองเชียงคำ, เมืองเชียงแรง, เมืองเงิน, เมืองคอบ, เมืองเชียงลม และเมืองเชียงฮ่อน เนื่องจากนครน่านมีพื้นที่กว้างขวาง จึงได้รวมหัวเมืองสำคัญแบ่งออกเป็นบริเวณ คือ
เมื่อปี พ.ศ. 2447 (ร.ศ.123) กระทรวงมหาดไทยได้ยกเลิกตำแหน่งข้าหลวง ตำแหน่งเจ้าเมือง ได้ยุบ บริเวณน่านเหนือ แบ่งพื้นที่ออกเป็นอำเภอ เชียงคำ อ.เทิง และ อ.เชียงของ ขึ้นอยู่เขตการปกครองจ.เชียงราย ซึ่งเป็น ชื่อมาจากบริเวณเชียงใหม่เหนือ ตั้งเป็นจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้านเหมือนกันทั่วประเทศ จัดตั้งจังหวัดเชียงราย แขวงน้ำลาวถูกยุบและแยกเป็นเมืองเทิง และเมืองเชียงคำ เมืองเชียงคำมีฐานะเป็นอำเภอหนึ่งขึ้นกับจังหวัดเชียงราย ตั้งเป็น “แขวงเชียงคำ” มีที่ว่าการอยู่ที่เมืองเชียงคำ ดูแลกิ่งแขวง เมืองปง และเมืองเทิง ตัดเมืองเชียงของให้ไปขึ้นต่อบริเวณพายัพเหนือ ตั้งพระยาพิศาลคีรี ดำรงตำแหน่ง นายอำเภอเชียงคำเป็นคนแรก พ.ศ. 2447 (ร.ศ. 123) สยามได้เสียดินแดนฝั่งขวาของแม่น้ำโขงให้กับฝรั่งเศส บริเวณน่านเหนือ จึงถูกตัดแขวงน้ำของออกไป เหลือแต่แขวงน้ำอิง และแขวงขุนยวม ต่อมาได้รวบรวมเมืองต่างๆ เสียใหม่ทั้งสิ้นมีทั้งหมด 18 เมือง คือ
พ.ศ. 2448 ด้วยหัวเมืองในลุ่มแม่น้ำของมีบริเวณพื้นที่กว้างใหญ่ มีชายแดนเขตติดต่อกับอาณานิคมของฝรั่งเศส แต่แยกกันขึ้นอยู่กับนครต่างๆ ซึ่งอยู่ห่างไกลกันมาก จึงจัดการให้มีการปกครองหัวเมืองในมณฑลพายัพในลุ่มแม่น้ำของเสียใหม่ โดยรวมหัวเมืองต่อไปนี้ ตั้งเป็นบริเวณพายัพเหนือ ได้แก่
และทำการแต่งตั้งให้มีข้าหลวง ประจำบริเวณอยู่ที่เมืองเชียงราย มีอำนาจจัดและตรวจตราหัวเมืองดังกล่าว ให้ขึ้นตรงกับข้าหลวงใหญ่มณฑลพายัพ แต่ยังคงสภาพเหมืองเหล่านี้ ให้เป็นเมืองขึ้นของนครต่างๆ ตามเดิมเพื่อไม่ให้เกิดกการต่อต้านจากเจ้านายฝ่ายเหนือผู้ปกครอง พ.ศ. 2449 เนื่องจากบริเวณน่านเหนือ ได้ถูกตัดไปรวมอยู่กับ บริเวณพายัพเหนือแล้ว กระทรวงมหาดไทย จึงได้ยกเลิกบริเวณน่านเหนือและตั้งเป็นเมืองเชียงคำ มีที่ว่าการอยู่ที่เมืองเชียงคำ ดูแลกิจการกิ่งแขวงเมืองปง และกิ่งแขวงเมืองเทิง ตัดเมืองเชียงของออกไป ให้ขึ้นตรงต่อบริเวณพายัพเหนือ โดยมีราชกิจจานุเบกษา วันที่ 14 ตุลาคม ร.ศ. 125 (พ.ศ. 2449) เล่ม 23 หน้า 751 ด้วยพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ ข้าหลวงใหญ่มณฑลพายัพ มีใบบอกมายังกระทรางมหาดไทยให้นำความกราบบังคมทูลฯ พระกรุณาว่า “บริเวณน่านเหนือซึ่งได้ตัดไปรวมขึ้นอยู่ในบริเวณพายัพเหนือแล้วนั้น ควรจะเปลี่ยนวิธีการปกครองเสียใหม่ให้เหมาะกับพื้นที่และผู้คนพลเมืองต่อไป” กระทรวงมหาดไทยได้นำความกราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าลอองธุลีพระบาทแล้ว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้จัดตั้งดังนี้ คือ
พ.ศ. 2450 กระทรวงมหาดไทย ได้กำหนดให้เปลี่ยนชื่อ ตำแหน่งการปกครองท้องถิ่นที่จากภาษาพื้นเมืองไปเป็นภาษาไทยเหมือนกันทั่วประเทศ คือ ให้คำว่า แก่บ้าน เปลี่ยนไปใช้คำว่า ผู้ใหญ่บ้าน, แคว้น กลับไปเป็นตำบล, นายแคว้นกลับไปใช้คำว่ากำนัน, แขวงกลับไปใช้เป็นอำเภอ, นายแขวงก็ใช้คำว่านายอำเภอ และบริเวณให้ใช้คำว่า จังหวัด ดังนั้น แขวงเชียงคำ จึงเปลี่ยนเป็น อำเภอเชียงคำ แต่ทางราชการก็ยังเรียกว่า เมืองเชียงคำ อยู่ในสังกัดของจังหวัดพายัพเหนือ ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 มิถุนายน 129 (พ.ศ. 2453) เล่มที่ 27 หน้า 427 แต่เดิมเมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองฝาง เมืองเวียงป่าเป้า เมืองพะเยา อำเภอแม่ใจ อำเภอดอกคำใต้ อำเภอแม่สาย เมืองเชียงคำ เมืองเชียงของ ได้จัดรวมเข้าเป็นจังหวัดเรียกว่าจังหวัดพายัพเหนือ ต่อมาเมืองเหล่านี้มีความเจริญยิ่งขึ้นจนเป็นเหตุให้เห็นว่า การที่จัดให้เป็นแต่เพียงจังหวัดไม่พอแก่ราชการ และความเจริญ สมควรจะเลื่อนชั้นการปกครองขึ้นให้สมกับราชการแลความเจริญในท้องที่ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้รวมเมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองฝาง เวียงป่าเป้า เมืองพะเยา อำเภอแม่ใจ อำเภอดอกคำใต้ อำเภอแม่สวย เมืองเชียงคำ เมืองเชียงของ ตั้งเป็นเมืองจัตวา เรียกว่าเมืองเชียงราย อยู่ในมณฑลพายัพ แลจัดแบ่งการปกครองเป็น 10 อำเภอ คือ อำเภอเมืองเชียงราย อำเภอเมืองเชียงแสน อำเภอเมืองฝาง อำเภอเวียงป่าเป้า อำเภอเมืองพะเยา อำเภอแม่ใจ อำเภอดอกคำใต้ อำเภอแม่สวย อำเภอเมืองเชียงคำ อำเภอเมืองเชียงของ เหมือนอย่างหัวเมืองจัตวาชั้นในที่ขึ้นกรุงเทพมหานครทั้งปวง แลทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้พระภักดีณรงค์ซึ่งเป็นข้าหลวงประจำจังหวัดพายัพเหนือ เป็นผู้ว่าราชการเมืองเชียงราย รับราชการสนองพระเดชพระคุณสืบไป ฯ
พ.ศ. 2453 กระทรวงมหาดไทย มีประกาศยกจังหวัดพายัพเหนือ ตั้งเป็นเมืองจัตวา เรียกว่า เมืองเชียงราย ประกอบด้วย 10 อำเภอ และอำเภอเชียงคำ อยู่ในเมืองเชียงราย เมื่อปี พ.ศ. 2485 (ร.ศ.161) หลวงฤทธิ์ภิญโญ ดำรงตำแหน่งนายอำเภอเชียงคำ ได้ย้ายที่ว่าการอำเภอเชียงคำจากฝั่งตะวันออกมาตั้ง ณ ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำลาว
ก่อนปี พ.ศ.2514 บริเวณที่ตั้งที่ว่าการอำเภอเชียงคำฝั่งตะวันออก เป็นจวนนายอำเภอหรือบ้านพัก นายอำเภอ อาคารทีสร้างขึ้นในปี พ.ศ.2514 ปัจจุบันได้รื้อถอนและสร้างอาคารหลังใหม่ทางฝั่งแม่น้ำลาวติดต้นขะจาวแนว ขว้างถนนอย่างที่เราเห็นอยู่ปัจจุบันนี้ เมื่อปี พ.ศ.2514 พันตรีชอบ มงคลรัตน์ นายอำเภอเชียงคำ ได้ย้ายที่ว่าการอำเภอเชียงคำกลับมาตั้ง ณ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำลาวอีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ได้มีพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดพะเยาขึ้น แบ่งเขตการปกครองจากจังหวัดเชียงราย โดยได้โอนอำเภอพะเยา อำเภอแม่ใจ อำเภอดอกคำใต้ อำเภอจุน อำเภอปง อำเภอเชียงม่วน และอำเภอเชียงคำ รวม 7 อำเภอ จัดตั้งเป็นจังหวัดพะเยา เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2539 กระทรวงมหาดไทยได้ออกพระราชกฤษฎีกา แบ่งพื้นที่อำเภอเชียงคำเป็น กิ่งอำเภอภูซาง ประกอบด้วย 5 ตำบล คือ ตำบลสบบง ตำบลภูซาง ตำบลเชียงแรง ตำบลทุ่งกล้วยและตำบลป่าสัก โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม 2539 เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 กระทรวงมหาดไทยได้ออกพระราชกฤษฎีกายกฐานะ กิ่งอำเภอภูซาง ขึ้นเป็น อำเภอภูซาง โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน 2550 |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
![]() |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นายนพฤทธิ์ ศิริโกศล | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นายอำเภอเชียงคำ |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
(นายอำเภอคนปัจจุบัน พ.ศ. 2557) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ที่ตั้งและอาณาเขต พิกัด 19°31′24″N 100°18′6″E มีพื้นที่ทั้งหมด 784.061 ตร.กม. |
ทิศเหนือ | ติดต่อกับ | อำเภอเทิง (จังหวัดเชียงราย) และอำเภอภูซาง | ||
ทิศตะวันออก | ติดต่อกับ | แขวงไชยะบุลี (สปป.ลาวลาว) และอำเภอสองแคว (จังหวัดน่าน) | ||
ทิศใต้ | ติดต่อกับ | อำเภอสองแคว (จังหวัดน่าน) และอำเภอปง | ||
ทิศตะวันตก | ติดต่อกับ | อำเภอจุน และอำเภอเทิง (จังหวัดเชียงราย) | ||
ที่ตั้งที่ว่าการอำเภอปัจจุบัน | ||
ที่ว่าการอำเภอเชียงคำ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำลาว เลขที่ 418 หมู่ที่ 15 ตำบลหย่วน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา รหัสไปรษณีย์ 56110 โทรศัพท์ (054) 451-335 | ||
จำนวนประชากร |
เมื่อปีพุทธศักราช 2556 ได้ทำการสำรวจประชากรของอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา มีประชากรจำนวน 77,075 คน ความหนาแน่นของประชากรอยู่ที่ 98.30 คน/ตร.กม. และอำเภอเภอเชียงคำของเราถือได้ว่า เป็นอำเภอที่มีชนชาติพันธุ์อาศัยอยู่ร่วมกันด้วยความรักความสามัคคีหลายชนชาติพันธุ์ด้วยกัน โดยหลักๆ สามารถจำแนกของได้จำนวน 8 ชนชาติพันธุ์ ดังนี้ | ||
1. | ชนชาติพันธุ์พื้นเมืองไตยวน ถือเป็นประชากรหลักของเชียงคำที่มีอยู่ประมาณ 55 % เฉลี่ยจากจำนวนประชากรณทั้ง 134 หมู่บ้านทั่วอำเภอเชียงคำ ใช้ภาษาล้านนา เป็นภาษาสื่อสารกัน มีอักษรหรืออักขระล้านนาเป็นตัวหนังสือเขียนเป็นเอกลักษณ์ คลิ๊กอ่านข้อมูลไตยวนเพิ่มเติมได้ที่นี่ครับ | ||
2. | ชนชาติพันธุ์ไทลื้อ ใช้ภาษาไทลื้อเป็นภาษาสื่อสารกัน มีอักษรหรืออักขระธรรม ซึ่งก็ใช้อักษรล้านนา ซึ่งบางครั้งแทบจะแยกไม่ออกระหว่างคนพื้นเมืองกับพี่น้องไทลื้อ ซึ่งมีขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณีที่ใกล้เคียงและคล้ายคลึงกัน บางครั้งบางประเพณีก็ทำผสมผสานกันได้อย่างลงตัว จำนวนประชากรชาวไทลื้อในอำเภอเชียงคำถือว่า มีจำนวนมากรองเป็นอัน 2 รองลงมาจากพี่น้องชาวพื้นเมือง มีอยู่ประมาณ 30 % ตามอัตราเฉลี่่ยจำนวนหมู่บ้านทั้ง 134 หมู่บ้านทั่วอำเภอเชียงคำ คลิ๊กอ่านข้อมูลและดูภาพเพิ่มเติมที่นี่ครับ | ||
3. | ชนชาติพันธุ์ไทยอีสาน ซึ่งได้อพยพมาหาที่ทำกินแห่งใหม่เป็นหมู่บ้านที่ย้ายถิ่นฐานมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 ทั้งชาวไทยอีสานและชาวผู้ไท ซึ่งมาจากจังหวัดกาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด ขอนแก่น นครราชสีมา นครพนม และมุกดาหาร มหาสารคาม ชัยภูมิ เป็นต้น ซึ่งก็มีหลายหมู่บ้าน หลายชุมชนในตำบลต่างๆ ทั้งทางตำบลอ่างทองและตำบลร่มเย็น เป็นต้น ของอำเภอเชียงคำนี้ โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ 5 % จากจำนวนประชากรทั้งหมด 134 หมู่บ้านของอำเภอ คลิ๊กอ่านข้อมูลและชมภาพเพิ่มเติมได้ที่นี่ครับ | ||
4. | ชนชาติพันธุ์พี่น้องลาว ซึ่งเป็นพี่น้องชาวลาวที่ได้อพยพข้ามมาในสมัยก่อน พ.ศ. 2500 มาจากหลายหมู่บ้าน เช่น แถวแขวงไชยะบุรี เมืองคอบ บ้านน้ำต้ม จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่ออพยพมาหาที่ทำกินแห่งใหม่เป็นหมู่ซึ่งก็มีหลายหมู่บ้าน โดยได้ตั้งหมู่บ้านอยู่แถวตำบลทุ่งผาสุขและตำบลฝายกวาง เป็นต้น มีจำนวนประชากรประมาณ 3 % โดยเฉลี่ยจากประชากรทั้งหมด 134 หมู่บ้านทั่วทอำเภอเชียงคำ | ||
5. | ชนชาติพันธุ์เมี่ยนหรือเย้าได้แก่พี่น้องที่ได้อพยพกันมาตั้งถิ่นฐานในแถบชายแดนประเทศไทยและในสมัยก่อการร้ายลัทธิคอมมิวนิสต์ ได้พากันอพยพกันมาตั้งหมู่บ้านอยู่ร่วมกับคนพื้นราบบ้างอยู่ตามเขาบ้าง โดยส่วนใหญ่จะอยู่ที่ตำบลร่มเย็น มีประมาณ 2 % โดยเฉลี่ยจากจำนวนประชากรทั้งหมด 134 หมู่บ้านทั่วอำเภอเชียงคำ ติดตามอ่านข้อมูลและรับชมภาพเพิ่มเติมได้ที่นี่ครับ | ||
6. | ชนชาติพันธุ์ม้งหรือแม้ว ได้แก่พี่น้องที่ได้อพยพกันมาตั้งถิ่นฐานในแถบชายแดนประเทศไทยและในสมัยก่อการร้ายลัทธิคอมมิวนิสต์ ได้พากันอพยพกันมาตั้งหมู่บ้านอยู่ร่วมกับคนพื้นราบบ้างอยู่ตามเขาบ้าง โดยส่วนใหญ่จะอยู่ที่ตำบลร่มเย็น มีประมาณ 2 % โดยเฉลี่ยจากจำนวนประชากรทั้งหมด 134 หมู่บ้านทั่วอำเภอเชียงคำ ติดตามอ่านข้อมูลและรับชมภาพเพิ่มเติมได้ที่นี่ครับ | ||
7. | ชนชาติพันธุ์พี่น้องชาวจีน เป็นพี่น้องชาวจีนอพยพมาทำการประกอบอาชีพค้าขาย ส่วนใหญ่กระจัดกระจายอยู่ตามพื้นทีชุมชนต่างๆ มีประมาณ 1 % จากจำนวนประชากรทั้งหมดโดยเฉลี่ยจากหมู่บ้าน 134 หมู่ทั่วอำเภอเชียงคำ | ||
8. | ชนชาติพันธุ์ไทใหญ่ เป็นพี่น้องที่ได้อยู่ตกค้างในสมัยก่อนและมีที่ตามพ่อค้า มาทำการค้าขายและได้ทำสัมปทานในเรื่องไม้ในพื้นที่อำเภอเชียงคำ อำเภอปง ก่อนปี พ.ศ. 2450 และมีหลักฐานปรากฎชัดว่ามีพี่น้องชาวไทใหญ่มาอาศัยอยู่ในเชียงคำ เช่น การบูรณปฏิสังขรณ์วัดม่านหรือวัดจองคา ให้ยิ่งใหญ่สวยงาม โดยพ่อเฒ่านันตา (อู๋) วงศ์อนันต์ จนวัดดังกล่าวถือได้ว่าเป็นวัดที่สวยงามและเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญของเชียงคำ นั่นก็คือ วัดนันตาราม โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ 1 % จากจำนวนประชากรทั้งหมด 134 หมู่บ้านและวัฒนธรรมประเพณีก็เริ่มกลืนกลายเป็นชนชาติพื้นเมืองและชาวไทลื้อไปบ้างก็มีแล้ว คลิ๊กอ่านข้อมูลและรับชมภาพวัดนันตารามได้ที่นี่ครับ | ||
* | หมายเหตุ * หมายเหตุ ปัจจุบัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ได้มีโครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ เกิดขึ้นมาจากพระราชดำริ ได้มีการอพยพชาวเขาเผ่าต่างๆ จากจังหวัดเชียงใหม่ มาอีก 4 เผ่า เพื่อมาดูแลป่าต้นน้ำญวน ที่บ้านหนองห้า ต.ร่มเย็น อ.เชียงคำ จ.พะเยา อันได้แก่ เผ่าเมี่ยนหรือเย้า เผ่าอาข่า เผ่ามูเซอ และชนเผ่าประกากะญอ หรือ กะเหรี่ยง เฉลี่ยแล้ว 1 % จากจำนวนประชากรทั้งหมด 134 หมู่บ้าน คลิ๊กอ่านข้อมูลเพิ่มเติม | ||
การปกครองส่วนภูมิภาค |
อำเภอเชียงคำแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 10 ตำบล 134 หมู่บ้าน |
ที่ | ตำบล | จำนวนหมู่บ้าน | |
1. | ตำบลหย่วน | 15 หมู่บ้าน | |
2. | ตำบลน้ำแวน | 14 หมู่บ้าน | |
3. | ตำบลเวียง | 10 หมู่บ้าน | |
4. | ตำบลฝายกวาง | 17 หมู่บ้าน | |
5. | ตำบลเจดีย์คำ | 12 หมู่บ้าน | |
6. | ตำบลร่มเย็น | 21 หมู่บ้าน |
|
7. | ตำบลเชียงบาน | 11 หมู่บ้าน | |
8. | ตำบลแม่ลาว | 14 หมู่บ้าน | |
9. | ตำบลอ่างทอง | 13 หมู่บ้าน | |
10. | ตำบลทุ่งผาสุข | 7 หมู่บ้าน | |
* หมายเหตุ ปัจจุบันตำบลร่มเย็น พ.ศ. 2557 มี 22 หมู่บ้านคือ บ้านห้วยเดื่อดอยนาง คลิ๊กอ่านข้อมูลเพิ่มเติม และก็มีอีกหลายหมู่บ้านยังไม่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ เช่น บ้านห้วยเคียน บ้านห้วยปุ้ม บ้านใหม่เจริญสุข บ้านร้องขี้เป็ด เป็นต้นนอกจากนั้นยังมีหมู่บ้านในโครงการเนื่องในพระราชดำริสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ บ้านเล็กในป่าใหญ่ คลิ๊กอ่านข้อมูลและชมภาพเพิ่มเติม | ||
รับชมข้อมูลและรูปภาพหมู่บ้านต่างๆทั้ง 134 หมู่บ้านของอำเภอเชียงคำ คลิ๊กที่นี่เลยครับ | ||
คลิ๊กตรงนี้เพื่อค้นหาข้อมูลต่างๆ รวมถึงแผนที่สถานที่ที่จะไป | ||
การปกครองส่วนท้องถิ่น | ||
ท้องที่อำเภอเชียงคำประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 11 แห่ง ได้แก่ |
ขอบคุณวีดีโอแนะนำอำเภอเชียงคำ โดยคุณยุทธภูมิ นามวงศ์ |
|||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
การคมนาคม | ||
รถโดยสารประจำทาง |
1. | สาย 2160 พะเยา-เชียงคำ (พะเยา-ดอกคำใต้-จุน-เชียงคำ) บริษัท ดอกคำใต้เดินรถ จำกัด | |
2. | สาย 620 เชียงราย-เชียงคำ (เชียงราย-เทิง-เชียงคำ) บริษัท ก.สหกิจเดินรถ จำกัด | |
3. | สาย 686 เชียงราย-เชียงคำ (เชียงราย-แม่ลอยไร่-ร่องแมด-เชียงคำ) บริษัท บุญณัฐเดินรถ จำกัด | |
4. | สาย 611 เชียงราย-น่าน (เชียงราย-เทิง-เชียงคำ-น่าน) บริษัท ก.สหกิจเดินรถ จำกัด | |
5. | สาย 671 เชียงใหม่-เชียงของ (เชียงใหม่-แม่ขะจาน-วังเหนือ-พะเยา-ดอกคำใต้-จุน-เชียงคำ-เทิง-เชียงของ) บริษัท ไทยพัฒนกิจขนส่ง จำกัด | |
6. | สาย 962 กรุงเทพ-เชียงของ บริษัทผู้เดินรถได้แก่ บริษัท ขนส่ง จำกัด(บขส 999,99) สมบัติทัวร์ โชครุ่งทวีทัวร์ สยามเฟิร์สทัวร์ บุษราคัมทัวร์ เชิดชัยทัวร์ |
เบอร์โทรศัพท์ติดต่อบริษัทขนส่งและรถบริการต่างๆของอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา ท่านสามารถคลิ๊กชมเว็ปไซต์บริษัทเหล่านั้นได้เลย |
ที่ | บริษัท | เบอร์โทรศัพท์ | ||
1. | บริษัทขนส่งจำกัด | Call Center 02-872-1777 | ||
2. | บริษัทสมบัติทัวร์ | Call Center 02-792-1444 | ||
3. | บริษัทโชครุ่งทวีทัวร์ | 054-451-559 081-473-2408 | ||
4. | บริษัทสยามเฟิร์สทัวร์ | Call Center 02-9543601-7 กด 1 | ||
5. | บริษัทเชิดชัยทัวร์ | Call Center 0-2711-7788 | ||
6. | บริษัทบุษราคัมทัวร์ | Call Center 02-9363201, 02-5379007 | ||
7. | บริษัทดอกคำใต้เดินรถ จำกัด | |||
8. | บริษัท ก.สหกิจเดินรถ จำกัด | |||
9. | บริษัทบุญณัฐเดินรถ จำกัด | |||
10. | บริษัทไทยพัฒนกิจขนส่งจำกัด | |||
11. | บริการรถตู้ | |||
12. | บริการรถโดยสาร | |||
13. | บริการรถมอเตอร์ไซค์ | |||
14. | อื่นๆ |
ถนนสายสำคัญ |
1. | ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1021 (แยกถนนพหลโยธิน (บ้านแม่ต๋ำ) อำเภอเมืองพะเยา – เทิง) | |
2. | ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1093 (แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1021 (บ้านสบบง) อำเภอภูซาง – ดอยผาตั้ง) | |
3. | ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1148 (ท่าวังผา-เชียงคำ) | |
4. | ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1160 (แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1148 (บ้านแฮะ) อำเภอเชียงคำ – บ้านน้ำมิน) | |
5. | ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1179 (แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1148 (บ้านทุ่งหล่มใหม่) อำเภอเชียงคำ – แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1092 (บ้านดอนเงิน) อำเภอปง) | |
6. | ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1186 (แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1021 (บ้านแวนวัฒนา) อำเภอเชียงคำ – แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1179 (บ้านทุ่งหล่มใหม่) อำเภอเชียงคำ) | |
7. | ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1210 (แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1148 (ห้าแยกธนาคารกสิกรไทย) อำเภอเชียงคำ – แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1093 (บ้านก๊อหลวง) อำเภอภูซาง) | |
8. | ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1345 (แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1210 (บ้านสบสา) อำเภอเชียงคำ – บ้านปางถ้ำ) | |
ขอขอบพระคุณแหล่งข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาตร์ที่ใช้ในการอ้างอิง ดังนี้ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
ช่วงนี้กำลังอัพเดทอข้อมูลและเรื่องราวต่างๆเรื่อยๆทุกวันครับ ขอบคุณที่เข้ามาติดตามรับชมนะครับ
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ลิงค์ หน่วยงานสาธารณสุข ในอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | โรงพยาบาลเชียงคำ | 1. | ศูนย์กู้ชีพ รพ.เชียงคำ |
||||
2. | สาธารณสุขอำเภอเชียงคำ | 2. | มูลนิธิสยามรวมใจปู่อินทร์ | ||||
3. | รพ.สต. หย่วน | 3. | คลีนิคหมอ | ||||
4. | รพ.สต. เวียง | 4. | คลีนิคหมอ | ||||
5. | รพ.สต. เชียงบาน | 5. | คลีนิคหมอ | ||||
6. | รพ.สต. น้ำแวน | 6. | คลีนิคหมอ | ||||
7. | รพ.สต. ผาลาด | 7. | คลีนิคหมอ | ||||
8. | รพ.สต. ฝายกวาง | 8. | คลีนิคหมอ | ||||
9. | รพ.สต. แวนโค้ง | 9. | คลีนิคหมอ | ||||
10. | รพ.สต. ทุ่งผาสุข | 10. | คลีนิคหมอ | ||||
11. | รพ.สต. แม่ลาว | 11. | คลีนิคหมอ | ||||
12. | รพ.สต. น้ำมิน | 12. | คลีนิคหมอ |
||||
13. | รพ.สต. จำบอน | 13. | คลีนิคหมอ | ||||
14. | รพ.สต. สันปูเลย | 14. | คลีนิคหมอ | ||||
15. | รพ.สต. ปางมดแดง | 15. | คลีนิคหมอ | ||||
16. | รพ.สต. เจดีย์คำ | 16. | คลีนิคหมอ | ||||
17. | รพ.สต. ร่มเย็น | 17. | คลีนิคหมอ | ||||
18. | รพ.สต. หนองป่าแพะ | 18. | คลีนิคหมอ | ||||
19. | รพ.สต. ปางถ้ำ | 19. | คลีนิคหมอ |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ลิงค์ สถานที่ท้องเที่ยวทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของเชียงคำ | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | วัดพระธาตุดอยคำ | 1. | อุทยานแห่งชาติภูซาง | ||||
2. | วัดพระนั่งดิน | 2. | วัดแสนเมืองมา | ||||
3. | วัดนันตาราม | 3. | ศูนย์วัฒนธรรมไทลื้อ | ||||
4. | อนุสรณ์ผู้เสียสละ | 4. | วัดพระธาตุสบแวน | ||||
5. | น้ำตกน้ำมิน | 5. | ด่านชายแดนบ้านฮวก | ||||
6. | อ่างเก็บน้ำบ้านแฮะ | 6. | ถ้ำผาแดง ถ้ำน้ำลอด ปางถ้ำ | ||||
7. | อ่างเก็บน้ำแม่ต๋ำ | 7. | ถ้ำห้วยสา | ||||
8. | น้ำตกคะแนง | 8. | อ่างเก็บน้ำห้วยสา บ้านห้วยสา | ||||
9. | ถ้ำห้วยน้ำดั้น รูปหน้าคน | 9. | อ่างเก็บน้ำห้วยสา บ้านคุ้ม | ||||
10. | น้ำตกขุนลาว บ้านคะแนง | 10. | โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ | ||||
11. | ดอยผาขาม | 11. | ภูอานม้า ต.ร่มเย็น | ||||
12. | น้ำตกห้วยเคียน | 12. | ถ้ำตาถ้ำยาย ต.ร่มเย็น | ||||
13. | วัดพระธาตุขุนห้วยสวด | 13. | ถ้ำบ้านวังถ้ำ ต.แม่ลาว | ||||
14. | ศูนย์หัตถกรรมไทลื้อทุ่งมอก | 14. | แนวกำแพงเก่าบ้านเวียง | ||||
15. | กู่ผาแดงบ้านกอม ต.เวียง | 15. | อ่างเก็บน้ำยวน | ||||
16. | วังตาด ต.ร่มเย็น | 16. | วัดร้องเก่า |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ศูนย์จำหน่ายสินค้าและของที่ระลึก | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | ศูนย์โอท็อป | ||||||
2. | ศูนย์ฯวัดพระนั่งดิน | ||||||
3. | ผ้าทอไทลื้อ บ้านทุ่งมอก | ||||||
4. | กาละแมโบราณ | ||||||
5. | ผักตบชวาและผ้าปักโครเช |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลหย่วน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านธาตุสบแวน หมู่ 1 | 9. | บ้านงุ้น | ||||
2. | บ้านธาตุสบแวน หมู่ 2 | 10. | บ้านใหม่นันทะวงค์ | ||||
3. | บ้านหย่วน | 11. | บ้านกอม | ||||
4. | บ้านมาง | 12. | บ้านป่าแดด | ||||
5. | บ้านดอนไชย | 13. | บ้านทุ่งบานเย็น | ||||
6. | บ้านแช่แห้ง | 14. | บ้านเปื๋อยเปียง | ||||
7. | บ้านแดนเมือง | 15. | บ้านเชียงคำ | ||||
8. | บ้านตลาด (วัดบุนนาค) | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลเวียง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านปี้ หมู่ที่ 1 | 6. | บ้านเวียง | ||||
2. | บ้านคือ | 7. | บ้านพระนั่งดิน | ||||
3. | บ้านทราย | 8. | บ้านดอนไชย | ||||
4. | บ้านล้า | 9. | บ้านดอนแก้ว | ||||
5. | บ้านไชยพรม | 10. | บ้านปี้ หมู่ที่ 10 | facebook |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลน้ำแวน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านน้ำแวน หมู่ที่ 1 | 8. | บ้านสนธิ์พัฒนา | ||||
2. | บ้านน้ำแวน หมู่ที่ 2 | 9. | บ้านห้วยบง | ||||
3. | บ้านไคร้ป่าคา | 10. | บ้านป่าแดงสามัคคี | ||||
4. | บ้านแม่ต๋ำ | 11. | บ้านก้าวเจริญ | ||||
5. | บ้านผาลาด | 12. | บ้านสันเวียงทอง | facebook |
|||
6. | บ้านชัยชุมภู | 13. | บ้านชัยเจริญ | ||||
7. | บ้านแม่ต๋ำท่าข้าม | 14. | บ้านแวนศรีชุม | ||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลเจดีย์คำ อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านวังเค็มเก่า | 7. | บ้านบุญยืน | ||||
2. | บ้านวังเค็มใหม่ | 8. | บ้านดอนลาว | ||||
3. | บ้านใหม่ไพรสนธิ์ | 9. | บ้านปิน | ||||
4. | บ้านปัวชัย | 10. | บ้านร่องค้อม | ||||
5. | บ้านปุ | 11. | บ้านอัมพร | facebook |
|||
6. | บ้านกว้าน | 12. | บ้านบุญชัย |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลฝายกวาง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านฝายกวาง | 10. | บ้านทุ่งหล่มใหม่ | ||||
2. | บ้านปัว (แหลง) | 11. | บ้านสันติสุข | ||||
3. | บ้านศรีพรม | 12. | บ้านบัวนาคพัฒนา | ||||
4. | บ้านหนอง (ลื้อ) |
13. | บ้านใหม่นาสา | ||||
5. | บ้านปัวใหม่ | 14. | บ้านศิวิไล | ||||
6. | บ้านทุ่งหล่ม | 15. | บ้านหนองใหม่ | ||||
7. | บ้านสลาบ | 16. | บ้านฐานพัฒนา | ||||
8. | บ้านแวนโค้ง | 17. | บ้านฝายกวาง | ||||
9. | บ้านใหม่เจริญไพร |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านปางวัว | 7. | บ้านเชียงคาน | ||||
2. | บ้านทุ่งมอก | 8. | บ้านสบแวน หมู่ 8 | ||||
3. | บ้านเชียงบาน หมู่ที่ 3 | 9. | บ้านแพทย์บุญเรือง | ||||
4. | บ้านเชียงบาน หมุ่ที่ 4 | 10. | บ้านเชียงบาน หมู่ที่ 10 | ||||
5. | บ้านแวนพัฒนา | 11. | บ้านฝั่งแวน | facebook |
|||
6. | บ้านแพด หมู่ที่ 6 |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลแม่ลาว อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านทุ่งเย็น หมู่ที่ 1 | 8. | บ้านกาญจนา | ||||
2. | บ้านทุ่งเย็น หมู่ที่ 2 |
9. | บ้านสบทุ | ||||
3. | บ้านผาลาด หมู่ที่ 3 |
10. | บ้านคะแนง | ||||
4. | บ้านวังถ้ำ | 11. | บ้านกอก | ||||
5. | บ้านแฮะ | 12. | บ้านผาลาดใหม่ | facebook |
|||
6. | บ้านน้ำมิน | 13. | บ้านน้ำมินเหนือ | ||||
7. | บ้านน้ำลาว | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลอ่างทอง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านเนินสามัคคี | 8. | บ้านสันปูเลย | ||||
2. | บ้านดอยอิสาน | 9. | บ้านปางมดแดง | ||||
3. | บ้านหล่ายพัฒนา | 10. | บ้านปางมดแดงใหม่ | ||||
4. | บ้านบ่อน้อย | 11. | บ้านเนินสายกลาง | ||||
5. | บ้านหนองบัวเงิน | 12. | บ้านจำบอนใหม่ | facebook |
|||
6. | บ้านนาเจริญ | 13. | บ้านนาเจริญ | ||||
7. | บ้านจำบอน | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลทุ่งผาสุข อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านหัวทุ่ง | 5. | บ้านหัวทุ่งใหม่ | ||||
2. | บ้านทุ่งควบ | 6. | บ้านทุ่งผาสุข | ||||
3. | บ้านผาฮาว | 7. | บ้านใหม่เจริญ | ||||
4. | บ้านไร่แสนสุข | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ดอยผาขามและอ่างน้ำยวน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | กว่าจะมาเป็นแม่น้ำยวน 1 | 10. | ตำนานนกหัสดิลิงค์ | ||||
2. | กว่าจะมาเป็นแม่น้ำยวน 2 | 11. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 1 | ||||
3. | กว่าจะมาเป็นแม่น้ำยวน 3 | 12. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 2 | ||||
4. | ที่มาโครงการอ่างเก็บน้ำยวน 1 | 13. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 3 | ||||
5. | ที่มาโครงการอ่างเก็บน้ำยวน 2 | 14. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 4 | ||||
6. | เสียงน้อยๆคอยติดตามอ่างฯ | 15. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 5 | ||||
7. | ดอยผาขามตำนานสอนใจ 1 | 16. | ถ้ำผาแดง-ถ้ำน้ำลอด | ||||
8. | ดอยผาขามตำนานสอนใจ 2 | 17. | ยอดวิวดอยผาขาม | ||||
9. | ตำนานพระสนธนมโนราห์ | 18. | ถ้ำรูปหน้าคนที่บ้านห้วยปุ้ม | ||||
ข้อมูลประวัติและรูปภาพชนชาติพันธุ์ต่างๆ | |||||||
ชนชาติพันธุ์ในไทยและที่มีอยู่อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชนชาติพันธุ์ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชนชาติพันธุ์ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | ชนชาติพันธุ์ไตยวน | 12. | ชนชาติพันธุ์ลาหู่หรือมูเซอ | ||||
2. | ชนชาติพันธุ์ไทลื้อ | 13. | ชนชาติมลาบรีหรือผีตองเหลือง | ||||
3. | ชนชาติพันธ์ุเผ่าเมี่ยนหรือเย้า | 14. | ชนชาติพันธุ์ภูไท | ||||
4. | ชนชาติพันธุ์เผ่าม้งหรือแม้ว | 15. | ชนชาติพันธุ์ลาวโซ่ง | ||||
5. | ชนชาติพันธุ์อีสาน | 16. | ชนชาติพันธุ์ส่วยหรือชาวกูย | ||||
6. | ชนชาติพันธุ์ไทใหญ่ | 17. | ชนชาติพันธุ์ชาวมอญ | ||||
7. | ชนชาติพันธุ์ปกากญอ | 18. | ชนชาติพันธุ์ชาวเล | ||||
8. | ชนชาติพันธุ์อาข่าหรืออีก้อ | 19. | ชนชาติพันธุ์ชาวใต้ | ||||
9. | ชนชาติพันธุ์ขมุ | 20. | ชนชาติพันธุ์ละหว้าหรือลัวะ | ||||
10. | ชนชาติพันธุ์ไทเขิน | 21. | ศูนย์อพยพภูซาง | ||||
11. | ชนชาติพันธุ์ลาวเวียง ลาวครั่ง |
อาหารการกินคนเมืองล้านนา | |||||||
อาหารการกินคนเมืองล้านนา | |||||||
ที่ | เรื่อง / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | เรื่อง/ เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | อาหารล้านนาบ้านเฮา | 1. | น้ำพริกเห็ดด่าน | ||||
2. | ดอกงิ้ว ทำน้ำขนมจีน | 2. | เห็ดดิน เห็ดเหลือง เห็ดแดง | ||||
3. | อ่อมจิ้นล้านนา | 3. | เห็ดถอบ | ||||
4. | แกงมะฟักใส่ไก่ | 4. | เห็ดขอนขาว | ||||
5. | แกงผักปั๋ง | 5. | เห็ดลม | ||||
6. | น้ำพริกน้ำผัก | 6. | เห็ดฟาง | ||||
7. | ส้ามะลิดไม้ | 7. | ผัดเผ็ดหมูป่า | ||||
8. | น้ำพริกมะกอก | 8. | เห็ดหูหนูหรือเห็ดโล๊ะหละ | ||||
9. | อาหารที่ทำจากมดส้ม | 9. | ลาบหมี่หมู | ||||
10. | คั่วดอกหอมใส่ไข่ | 10. | ส้มตำประเภทต่างๆ | ||||
11. | มะแขว่นเครื่องปรุงรสล้านนา | 11. | ไส้ย่าง | ||||
12. | อาหารที่ทำจากจี้กุ่ง | 12. | แมงมันของบ่เขียม | ||||
13 | หวายของป่าหากินยาก | 13. | ยำปลากระป๋อง | ||||
14. | แกงกระด้าง | 14. | ข้าวกั๊นจิ้น | ||||
15. | แกงขนุน | 15. | ข้าวแรมฟืน | ||||
16. | แกงผักหละ หรือ ผักชะอม | 16. | ตัวต่อ น้ำพริกต่อ | ||||
17. | ส้ากุ้งหรือกุ้งเต้น | 17. | แกงหน่อไม้ใส่เห็ดอีกหม้อ | ||||
18. | น้ำพริกข่าต้มเห็ดถอบ | 18. | ยำหน่อไม้ใส่น้ำปู | ||||
19. | มะนอยน้อย | 19. | ส้าใบมะม่วง | ||||
20. | จิ้นส้มคนเมือง | 20. | แกงหน่อไม้ | ||||
21. | แกงหวายอีกแบบ | 21. | ตำขนุน | ||||
22. | แกงหอย | 22. | แกงผักชะอม | ||||
23. | ยำไก่เมืองเหนือเฮา | 23. | คั่วผักหม | ||||
24. | แกงหยวกกล้วย | 24. | ข้าวซอย | ||||
25. | ยำปลาแห้ง | 25. | อ๊อกปู๋นา สุดยอดอาหาร | ||||
26. | ตำเตา | 26. | ไส้อั่ว | ||||
27. | แกงแค | 27. | ส้มตำข้าวเหนียวไก่อบฟาง | ||||
28. | แก๋งมะบวบ | 28. | หลามปลาหลามเนื้อ | ||||
29. | คั่วยอดฟักทอง | 29. | ยำไส้ตัน | ||||
30. | แกงผักจี | 30. | ปลานึ่ง | ||||
31. | แกงหนัง | 31. | จี้กุ่งทอด | ||||
32. | ห่อนึ่งประเภทต่างๆ | 32. | ปลาเผาจิ้มน้ำพริก | ||||
33. | ตำถั่วฝักยาว | 33. | ขุดปูนา | ||||
34. | น้ำพริกจี้กุ่ง และจี้กุ่งทอด | 34. | ห่อนึ่งเห็น | ||||
35. | จิ้นนึ่งกับน้ำพริกข่า | 35. | ขนมข้าวควบ | ||||
36. | น้ำพริกหนุ่ม | 36. | ขนมข้าวแคบ | ||||
37. | ตำมะเขือยาว | 37. | ต้มโคล้งปลา ต้มยำปลา | ||||
38. | ตำมะเหิด หรือ มะระขี้นก | 38. | ไก ตะ สาหร่ายน้ำจืด | ||||
39. | น้ำพริกมะขามสด | 39. | หม่าขี้เบ้า | ||||
40. | น้ำพริกอ่อง | 40. | ต้นดอกงิ้ว | ||||
41. | ยำหน่อไม้ | 41. | แอปเปิ้ลเมือง | ||||
42. | น้ำพริกหนุ่มแคปหมู | 42. | ข้าวหนึกงา | ||||
43. | ตำถั่วฝักยาวอีกแบบ | 43. | ข้าวหนมเหนียบ | ||||
44. | ยำงูสิงห์ | 44. | ขนุนสุก | ||||
45. | ข้าวหนมปาด | 45. | มะรื่นหรือมะมื่น | ||||
46. | ข้าวหนมแตน | 46. | หม่ามู้ หรือ หม่ากู้ | ||||
47. | หมอบั่วหอมเตียม | 47. | ต้นมะแขว่น | ||||
48. | น้ำผึ้งเดือนห้า | 48. | ตั๊กแตนข้าว | ||||
49. | ขนมที่ทำจากกล้วย | 49. | มะหลอด | ||||
50. | หลามปลา | 50. | มะปราง | ||||
51. | มะม่วงหิมพานต์ | 51. | หนอนไม้ไผ่ | ||||
52. | ปลาหมึกย่าง | 52. | ข้าวเหนียวมะม่วง | ||||
53. | ไก่อบฟาง | 53. | น้ำพริกมะขาม | ||||
54. | จะค่าน เครื่องปรุงรส สุดยอด | 54. | มดส้มหรือมดแดง | ||||
55. | ด้วงสาคู ด้วงมะพร้าว | 55. | เรื่องกล้วยๆ | ||||
56. | ไส้หมูย่าง | 56. | แกงเห็ดลมเห็ดกระด้าง | ||||
57. | มะม่วงหิมพานต์ | 57. | กำกิ๋นบ้านเฮา | ||||
58. | ข้าวเหนียวมะม่วง | 58. | อาหารคนเมือง | ||||
59. | มะหลอดผลไม้ล้านนา | 59. | รวมอาหารล้านนาเฮา | ||||
60. | ตองและกล้วยป่า | 60. | ดอกคำปุ๋ยหรือดอคำฝอย |