![]() |
||||||||||||||||||||||||||||
สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช สมเด็จพระเจ้าอภัยพุทธบวร ไชยเชษฐาธิราช หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (ลาว: ໄຊເສດຖາ, ເສດຖາທິຣາດ) มีพระนามเดิมว่า เจ้าเชษฐวังโส ประสูติปีมะเมีย (ปีม้า) เดือนอ้ายหรือเดือนเจียง หรือเดือนหนึ่ง แรม 9 ค่ำ วันอาทิตย์เวลาเที่ยง ปี พ.ศ.2077 สมัยเยาว์วัยนั้น เจ้าฟ้าเชษฐวังโส หรือเจ้าฟ้าไชยเชษฐากุมาร มีจิตใจใฝ่การศึกษาเล่าเรียน ฉลาดหลักแหลม และมีจิตเอื้ออารี พระบิดาทรงพระนามว่า พระเจ้าโพธิสาร ครองราชย์ (พ.ศ. 2063-2090) ซึ่งเป็นเชื้อสายของกษัตริย์ผู้ครองนครเชียงใหม่ คือ พระราชบิดาของท่าน เป็นลูกของพญาเกสเชษฐราชเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ และเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ได้ส่งพระเจ้าโพธิสารไปปกครองนครศรีสัตนาคนหุตเชียงทอง (หลวงพระบาง) ในรัชกาลที่ 20 พระองค์ เมื่อพระองค์ มีพระชนมายุได้ 14 พรรษา พระเจัานครเชียงใหม่ คือ พระเมืองเกษเกล้า หรือ พญาเกสเชษฐราช พระอัยกา (ปู่) ของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช เสด็จสวรรคต ฝ่ายเสนาอำมาตย์และพระสงฆ์องค์เจ้าผู้ใหญ่ จึงได้ปรึกษาหารือเห็นดีงามพร้อมกันว่า “เจ้าฟ้าไชยเชษฐาราชกุมาร พระราชโอรสของพระนางหอสูง สมควรจะได้ปกครองราชสมบัติในนครเชียงใหม่แทนพระอัยกา” แต่ก่อนที่พระองค์จะเสด็จมาครองเมืองเชียงใหม่นั้น พระนางมหาเทวีจิรประภา (ย่า) พระอัครมเหสีของพญาเกสเชษฐราช พระอัยกา (ปู่) ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2088-2089 เพื่อรอหลานชายจากเมืองหลวงพระบาง ได้เสด็จมาครองราชย์สืบต่อพระนาง พระเจ้าไชษฐากุมาร ก็ได้ปกครองราชสมบัติเป็นพระเจ้าแผ่นดินในนครเชียงใหม่ พ.ศ.2091 ได้เพียงแค่ปีเดียว เพื่อเป็นสิริมงคล ในการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชนั้น เหล่าเสนาอำมาตย์ จึงได้ไปอัญเชิญพระมหามณีรัตน์ปฎิมากรแก้วมรกต ที่ประดิษฐานอยู่ที่เมือง ลำปางนำกลับมาไว้ที่เมืองเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2090 พระเจ้าโพธิสารราชก็เสด็จสวรรคต (พระบิดา) เสนาอำมาตย์ทั้งหลาย ก็ได้แต่งพระราชสาส์นฉบับหนึ่งแจ้งข้อราชการในนครศรีสัตนาคนหุตเชียงทอง (หลวงพระบาง) ไปถวายระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่นครเชียงใหม่ ซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ คือ พระยายศลือเกียนเป็นผู้นำขึ้นไปถวาย ครั้นทราบจากราชสาส์นแล้ว พระองค์ก็ทรงกรรแสง (ร้องไห้) และทรงคิดถึงพระราชบิดา ด้วยยังไม่เห็นพระทัยเมื่อสรรคต ดังนั้น พระองค์ได้ทรงปรึกษาหารือกับเสนาอำมาตย์ว่า “เราจะไปเยี่ยมพระศพและทำการถวายพระเพลิงพระบรมศพพระราชบิดาของเราที่นครศรีสัตนาคหุต และจะทรงเยี่ยมพระญาติ และบ้านเมืองของเราด้วย จะไปยาวนานเท่าไรยังไม่ทราบ และเพื่อเป็นสิริมงคล แก่บ้านเมือง เราจะนำเอา พระแก้วมรกตไปด้วย” พอแต่ท้าวเพีย (พระยาผู้ใหญ่) จัดยุทธโยธาจตุรงค์พร้อมเพียงแล้ว พระองค์ ก็ได้อัญเชิญพระแก้วมรกตกับพระพุทธสิหิงส์ และพระแก้วขาว ซึ่งเป็นพระพุทธ รูปศักดิ์สิทธิ์ จัดขบวนแห่เดินทางไปจนถึงพระนครศรีสัตนาคหุตเชียงทอง ก่อนที่พระองค์จะเสด็จออกจากเมืองเชียงใหม่ พระองค์ได้มอบเมืองให้แก่ พระยา กงกางราช ผู้เป็นลุงให้เป็นผู้รักษาว่าราชการบ้านเมืองแทนชั่วคราว ฝ่ายพวกเสนาฝ่ายใต้ อันมีพระยาเวียงแสนมะโรง มารดาพระล้านช้างและกวานด้ามฟ้า เป็นหัวหน้าพอทราบข่าวว่า พระโพธิสารเสด็จสวรรคตแล้ว ก็พร้อมกันคิดว่าจะอภิเษกพระล้านช้างขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดิน จึงพากันแข็งข้ออยู่ที่เมืองปากห้วยหลวง สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชทรงทราบ จึงมีพระราชโองการมรงแต่งตั้งให้ พระศรีสัทธรรมไตรโลก ยกไพร่พลโยธาลงมาปราบกองทัพทหารของพระเจ้าล้านช้าง กองทัพทั้งสองทำสงครามกันอยู่ที่แก้งสา พระเวียงกวานด้ามพ้าและพระยาแสนณรงค์ เห็นว่าจะต้านไม่ไหว จึงได้พาพระล้านช้าง หนีลงไปพึ่งพระยานครที่เมืองกระบอง (เมืองท่าแขก) พระยานคร จึงได้จับคนทั้งสามส่งให้พระยาศรีสัทธรรมไตรโลก ทั้งสามคนจึงถูกพระยาศรีสัทธรรมไตรโลก สั่งประหารชีวิต แล้วควบคุมเอาพระมารดาและพระล้านช้างขึ้นมายังนครเชียงทอง พอขึ้นมาถึงแก้งปิง พระยาศรีสัทธรรมไตรโลก ก็ได้ประหารชีวิตพระมารดาของพระล้านช้างเสีย คุมเอาเฉพาะพระล้านช้างและแม่เลี้ยง มีชื่อว่า “นางกองสร้อย” ขึ้นไปนครเชียงทอง พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ทรงพระราชทานอภัยโทษ แล้วให้ไปอยู่กับพระยาแสนเมือง เมื่อทรงจัดการบ้านเมืองได้สงบเรียบร้อยแล้ว พระองค์ จึงทรงพระราชทานเพลิงศพพระราชบิดา และในคราวนั้น พระองค์ก็ได้ทรงผนวช จูงพระบรมศพพระราชบิดาด้วย เมื่องานพระราชพิธีศพเสร็จเรียบร้อยแล้ว เหล่าเสนาอำมาตย์ราชมนตรี และพระสงฆ์องค์เจ้าทั้งหลายจึงพร้อมกันอภิเษก พระไชยเชษฐาธิราชเจ้า ขึ้นเป็น พระเจ้าแผ่นดินปกครองนครเชียงทอง ถวายพระนามว่า “พระอุภัยภูธรบวรไชยเชษฐาภูวนาถาธิปัตศรีสัตนาคนหุต” ด้วยที่พระองค์ได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินปกครองทั้งสองนคร พระองค์จึงทรงแต่งตั้ง พระยาศรีสัทธรรมไตรโลก ผู้มีความชอบขึ้นเป็น “พระยาจันทบุรีศรีสัทธรรมไตรโลกน้าออก” เป็นพระเจ้าปกครองเวียงจันทน์ ในปี พ.ศ.2093 บรรดาเมืองที่ขึ้นกับนครเวียงจันทน์ ดังนี้
พอพระยาจันทบุรีขึ้นปกครองนครเวียงจันทน์แล้วก็ได้สร้างวัดขึ้น 2 วัดคือ 1 วัดพระยา(วัดเพีย ในปัจจุบัน) 2.วัดจันทบุรีศรีสัทธรรมไตรโลก อยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง (วัดจันทบุรี ในปัจจุบัน) ปี พ.ศ. 2094 สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ได้มีพระราชโองการแต่งให้เสนามนตรีไปบอกทางนครเชียงใหม่ว่า พระองค์จะ ไม่ได้เสด็จกลับ คืนมานครเชียงใหม่แล้ว ส่วนราชการบ้านเมืองขอมอบให้พระนางเจ้าจิระประภา เป็นผู้ดูแลแทนต่อไป ฝ่ายเสนาอำมาตย์ผู้ใหญ่ของเมืองเชียงใหม่ได้ทราบดังนี้ ก็เกิดทะเลาะกัน แย่งความเป็นใหญ่จนเกิดศึกกลางเมือง พระองค์ทรงทราบเรื่อง จึงมีพระราชโองการให้ พระยาเมืองแพร่ กับพระยานครล้านช้าง และพระยาทัวเวียง ยกกำลังขึ้นไปปราบปรามจึงสงบลง ปี พ.ศ.2096 พวกเสนาอำมาตย์นครเชียงใหม่ ได้พร้อมกันไปเชิญเอา “เจ้าเนกุติ” ผู้เป็นเชื้อสายของพระยาเม็งราย ซึ่งขณะนั้นทรงผนวชอยู่ ให้ลาสิกขาออกมาอภิเษกเป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งนครเชียงใหม่ สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชทรงทราบ ก็พิโรธเป็นอย่างมาก ซึ่งเมืองเชียงใหม่ยังเป็นของพระองค์อยู่ ปี พ.ศ.2098 พระองค์จึงทรงยกทัพขึ้นไปตีเมืองเชียงใหม่ ในขณะนั้น สมเด็จพระไชษฐาธิราช ได้แต่งตั้งให้พระยาเมืองกลาง เป็นแม่ทัพยกไปตีเชียงแสน ตัวแสนน้อยหนีไปเมืองตองอู (เมืองหงสาวดี) พระองค์เสด็จขึ้นไปประทับที่เมืองเชียงแสน และตั้งนครเชียงแสนเป็นราชธานีทรง ปกป้องรักษาไพร่พล ช้างม้าอยู่ที่นั่น นานถึง 8 เดือน เพื่อจะตีเอานครเชียงใหม่คืนมาให้ได้ ฝ่ายแสนน้อยที่หนีไปนั้น ได้ไปเชิญเจ้าฟ้าหงสาวดีบุเรงนอง ให้มาตีเมืองเชียงใหม่ เจ้าฟ้าหงสาวดี จึงมีราชสาส์นโดยให้น้อยเจียถือไปถวายสมเด็จพระไชษฐาธิราชอยู่เมืองเชียงแสน มีข้อความว่า “เมืองเชียงใหม่เป็นของลูกเรา เราก็รู้เป็นอย่างดี แต่พ่อเจ้าหมื่นกวาน กับนายประ เทียบวิชุลได้มาบอกเล่าถึงอังวะโน้น พระเมกุติ ทั้งแสนน้อยเขาได้ชิงเอาเมืองเชียงใหม่ได้แล้ว บัดนี้ เราผู้พ่อก็ได้รับพระเมกุติและแสนน้อยไว้แล้ว บัดนี้เมืองเชียงใหม่นี้ ลูกเราจะมาเอา เราผู้พ่อจักมอบให้” สมเด็จพระไชษฐาธิราช ได้ทรงทราบพระราชสาส์นนั้นแล้วทรงตอบกลับไปว่า“เมืองเชียงใหม่นี้หากเป็นเมืองของเราผู้ลูกแท้ พ่อเราตาย เรากลับไปบวช และสร้างมหาธาตุทั้งวิหาร ให้ทานเป็นการตอบแทนคุณพ่อเรา เราจึงฝากเมืองไว้กับพระสงฆ์และเสนาอำมาตย์ทั้งหลาย เขาไม่อยู่ในคำสัตย์ที่ตั้งไว้ เลยเอาพระเมกุติมาตั้งแทน บัดนี้พ่อเราได้เมืองเชียงใหม่แล้ว เราขอถวายมอบให้แก่พ่อเรา เราจักกลับไปเมืองล้านช้างดังเดิม” ตั้งนครเวียงจันทน์เป็นราชธานี ปี พ.ศ.2103 ปีวอก สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ทรงพิจารณาเห็นว่า “นครเชียงทอง (หลวงพระบาง) เป็นที่คับแคบ ไม่กว้างขวาง และอย่างหนึ่ง ก็เป็นที่เดินทัพของพม่า ซึ่งกำลังเป็นศัตรูอยู่กับนครเชียงทอง ทั้งพิจารณาเห็นว่า “เมืองเวียงจันทน์เป็นเมืองใหญ่มีที่ทำมาหากินกว้างขวาง อุดมไปด้วยข้าว ปลาอาหาร สมควรแต่งตั้งให้เป็นมหานครได้” เมื่อพระองค์จินตนาการดังนั้นแล้ว จึงปรึกษาหารือกับเสนามนตรีทั้งหลาย ในเมื่อทุกคนเห็นดีงามด้วยทุกประการ จึงมอบนครเชียงทอง ให้พระสงฆ์เป็นผู้ดูแลรักษา พร้อมด้วยพระบางเจ้า ส่วนพระองค์ได้อัญเชิญเอาพระแก้วมรกต และพระแซกคำพร้อมด้วยสมบัติทั้งมวล อพยพจตุรงคเสนาโยธาทหารลงมาอยู่นครเวียงจันทน์ ได้ทรงย้ายเมืองหลวงจากเมืองเชียงคำมาอยู่ที่เวียงจันทน์ ได้ประดิษฐานพระแก้วมรกต และพระแซกคำ (พระพุทธสิหิงค์ หรือพระสิงค์) ไว้ที่เวียงจันทน์ เรียกว่า เวียงจันทน์ล้านช้าง จึงขนานนามนครเวียงจันทน์ใหม่ว่า “พระนครจันทบุรีศรีสัตนาคนหุตอุดมราชธานี” และได้ สร้างวัด เป็นที่ประดิษฐานพระแก้วมรกตขึ้นเป็นพิเศษพระองค์ได้ทรงสร้าง พระธาตุหลวง ซึ่งถือเป็นสถาปัตยกรรมชิ้นยอดเยี่ยมของลาว พระองค์ก็ได้ สร้างมหาปราสาทราชวังหลวงขึ้นใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2109 ซึ่งต่อมา ได้ถูกพวกปล้นจากยูนนานทำลายเสียหายไปมาก ส่วนนครเชียงทองนั้น ก็ได้เรียกว่า “นครหลวงพระบาง” แต่กาลบัดนั้น เหตุว่า พระบางเจ้ายังประดิษฐานอยู่ ณ ที่นั่น พระบางประดิษฐานไว้ที่เมืองเชียงทอง จึงได้ชื่อว่าหลวงพระบางมาจนถึงบัดนี้ บางครั้ง ก็เรียกชื่อว่าล้านช้างหลวงพระบาง สร้างพระธาตุหลวงและวัดวาอาราม ปี พ.ศ. 2109 สมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ได้ทรงสร้างพระธาตุหลวงขึ้น อยู่ในสวนอุทยานทานด้านตะวันออกแห่งพระมหานคร โดยก่อครอบพระเจดีย์ลูกหนึ่งที่มีอยู่ ในที่นั้นก่อนแล้ว ได้ฤกษ์ในการลงมือทำในวันเพ็ญเดือนอ้าย (เดือนที่ 1) ใช้เวลาก่อสร้างนานพอ สมควรเมื่อสร้างเสร็จแล้วจึงขนานนามว่า “พระธาตุเจดีย์โลกจุลมณี”คนส่วนมากเรียกว่า “พระธาตุใหญ่” หรือ “พระธาตุหลวง” เพื่อปฎิบัติรักษาพระธาตุโลกจุลมณี ให้มีรูปทรงสวยงามอยู่ตลอดเวลา พระองค์มีพระราชโองการให้ 35 ครอบครัวอยู่ เฝ้ารักษา พระธาตุ ซึ่งพระองค์ได้อุทิศที่ดินไร่นาให้ทุกครอบครัวเพื่อเป็นที่ทำมาหากิน เมื่อสร้างพระธาตุหลวงเสร็จแล้ว พระองค์ได้ทรงสร้างวัดวาอารามอีกหลาย แห่งคือ
พระองค์ได้ทรงสร้างวัดวาอารามทั้งอยู่ในนครเวียงจันทน์ ทั้งอยู่ในภาคกลางของลาว และแผ่นดินฝั่งด้านขวาแม่น้ำโขง ซึ่งเสด็จไปทุกที่ไม่เคยหยุดหย่อน อันทำให้ประชาราษฏร์เกิดความเลื่อมใสยิ่งนัก สมเด็จพระเจัาไชยเชษฐาธิราชเป็นกษัตริย์นักพัฒนา สร้างสรรให้บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างยิ่ง ในนครเวียงจันทน์เต็มไปด้วย วัดวาอารามและพระธาตุเจดีย์ที่ประดับประดาอย่างวิจิตรพิสดาร พระพุทธศาสนา ในยุคของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช นับว่ามีความเจริญถึงขั้นขีดสุด ทรงได้สร้างวัดสำคัญมากมาย ที่สำคัญที่สุดคือ การสร้างองค์พระธาตุหลวงขึ้นมาใหม่ ให้ใหญ่โตมโหฬาร สมกับที่เป็นปูชนียสถานคู่แผ่นดินพระราชอาณาจักร และได้สร้างวัดในกำแพงเมืองอยู่ประมาณ 120 วัด และยังได้สร้างวัดพระแก้ว ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานของพระแก้วมรกต ที่นำมาจากเมืองเชียงใหม่ ในสมัยนี้ ได้มีการแต่งวรรณกรรมหลายเรื่อง เช่น สังสินชัย การเกต พระลักพระราม เป็นต้น สมัยนี้ราชอาณาจักรไทย ได้มีความสัมพันธ์ลาวอย่างแน่นแฟ้น ได้ร่วมมือกันเพื่อต่อสู้กับพม่า ได้สร้างเจดีย์ “พระธาตุศรีสองรัก” ในอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย เพื่อเป็นอนุสรณ์ แห่งความเป็นพี่เป็นน้องกัน ของสองอาณาจักร นอกจากพระองค์จะได้ทรงสร้างพระธาตุอื่น ๆ และพระพุทธรูปสำคัญ ๆ อีกมากมาย เช่น พระเจ้าองค์ตื้อ ที่เวียงจันทน์ พระเจ้าองค์ตื้อ ที่อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย พระเสริม พระสุก พระใส พระอินทร์แปลง พระองค์แสน ทรงสร้างวัดพระธาตุ ที่จังหวัดหนองคาย และพระธาตุที่จมน้ำโขงอยู่ พระธาตุบังพวน อำเภอเมืองหนองคาย สร้างวัดศรีเมือง จังหวัดหนองคาย และพระประธานในโบสถ์ นามว่า พระไชยเชษฐา พระศรีโคตรบูร ที่แขวงคำม่วน พระธาตุอิงรัง ที่แขวงสุวรรณเขต (สุวรรณเขต) พระธาตุศรีสองรัก อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย และทรงปฏิสังขรณ์พระธาตุพนม เป็นต้น พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชทรงประคับประคองนำราชอาณาจักรล้านช้างผ่านพ้นภัยการเป็นเมืองขึ้นของพม่าไปได้ ตลอดรัชสมัยของพระองค์ แม้ว่าในขณะนั้นอาณาจักรล้านนา (เสียแก่พม่า พ.ศ. 2101) และอาณาจักรอยุธยา (เสียแก่พม่า พ.ศ. 2107) ต้องตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าแล้ว แต่หลังจากพระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2114 พอมาถึง พ.ศ. 2117-2118 พระเจ้าหงสาวดีบุเรงนองได้ยกทัพมาตีลาวและได้รับชัยชนะ และทรงนำโอรสองค์เดียวของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชซึ่งประสูติในปีที่สวรรคต ไว้เป็นประกันที่หงสาวดีด้วย ต่อจากนั้นมาหลายปีแผ่นดินลาวก็วุ่นวายด้วยเรื่องราชสมบัติ จน พ.ศ. 2134 พระเถระเจ้าอาวาสวัดต่าง ๆ จึงได้ประชุมกันลงมติให้ส่งทูตไปเชิญเจ้าชายหน่อแก้วกุมาร ซึ่งเป็นตัวประกันอยู่ประเทศพม่ากลับมาครองราชย์ และในเวลานั้นพระเจ้าบุเรงนองสวรรคตลง พม่าเริ่มอ่อนแอลง และเจ้าหน่อแก้วกุมารขึ้นครองราชย์สมบัติ พ.ศ. 2135 และประกาศอิสรภาพไม่ขึ้นกับพม่าต่อไป การการเรียนรู้พงศาวดารและประวัติศาสตร์ สิ่งหนึ่งที่อดทึ่งไม่ได้คือ การเดินทางของพระมหากษัตริย์หรือผู้นำในสมัยก่อน ในการยกทัพหรือการเดินทาง ซึ่งไม่ได้สะดวกสบายอย่างทุกวันนี้ แต่กระนั้นก็ไม่ใช่ปัญหาใหญ่ของผู้คนในสมัยนั้น บางครั้งมีการเดินทางเป็นเดือนๆ เป็นปีกว่าจะไปถึงที่หมาย แล้วเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเบื้องหน้า และในช่วงที่เดินทางเป็นอย่างไร..นั้นแหละที่ทำให้ ผมสนใจอยู่มิใช่น้อย รวบรวมและเรียบเรียงโดย |
ช่วงนี้กำลังอัพเดทอข้อมูลและเรื่องราวต่างๆเรื่อยๆทุกวันครับ ขอบคุณที่เข้ามาติดตามรับชมนะครับ
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ลิงค์ หน่วยงานสาธารณสุข ในอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | โรงพยาบาลเชียงคำ | 1. | ศูนย์กู้ชีพ รพ.เชียงคำ |
||||
2. | สาธารณสุขอำเภอเชียงคำ | 2. | มูลนิธิสยามรวมใจปู่อินทร์ | ||||
3. | รพ.สต. หย่วน | 3. | คลีนิคหมอ | ||||
4. | รพ.สต. เวียง | 4. | คลีนิคหมอ | ||||
5. | รพ.สต. เชียงบาน | 5. | คลีนิคหมอ | ||||
6. | รพ.สต. น้ำแวน | 6. | คลีนิคหมอ | ||||
7. | รพ.สต. ผาลาด | 7. | คลีนิคหมอ | ||||
8. | รพ.สต. ฝายกวาง | 8. | คลีนิคหมอ | ||||
9. | รพ.สต. แวนโค้ง | 9. | คลีนิคหมอ | ||||
10. | รพ.สต. ทุ่งผาสุข | 10. | คลีนิคหมอ | ||||
11. | รพ.สต. แม่ลาว | 11. | คลีนิคหมอ | ||||
12. | รพ.สต. น้ำมิน | 12. | คลีนิคหมอ |
||||
13. | รพ.สต. จำบอน | 13. | คลีนิคหมอ | ||||
14. | รพ.สต. สันปูเลย | 14. | คลีนิคหมอ | ||||
15. | รพ.สต. ปางมดแดง | 15. | คลีนิคหมอ | ||||
16. | รพ.สต. เจดีย์คำ | 16. | คลีนิคหมอ | ||||
17. | รพ.สต. ร่มเย็น | 17. | คลีนิคหมอ | ||||
18. | รพ.สต. หนองป่าแพะ | 18. | คลีนิคหมอ | ||||
19. | รพ.สต. ปางถ้ำ | 19. | คลีนิคหมอ |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ลิงค์ สถานที่ท้องเที่ยวทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของเชียงคำ | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | วัดพระธาตุดอยคำ | 1. | อุทยานแห่งชาติภูซาง | ||||
2. | วัดพระนั่งดิน | 2. | วัดแสนเมืองมา | ||||
3. | วัดนันตาราม | 3. | ศูนย์วัฒนธรรมไทลื้อ | ||||
4. | อนุสรณ์ผู้เสียสละ | 4. | วัดพระธาตุสบแวน | ||||
5. | น้ำตกน้ำมิน | 5. | ด่านชายแดนบ้านฮวก | ||||
6. | อ่างเก็บน้ำบ้านแฮะ | 6. | ถ้ำผาแดง ถ้ำน้ำลอด ปางถ้ำ | ||||
7. | อ่างเก็บน้ำแม่ต๋ำ | 7. | ถ้ำห้วยสา | ||||
8. | น้ำตกคะแนง | 8. | อ่างเก็บน้ำห้วยสา บ้านห้วยสา | ||||
9. | ถ้ำห้วยน้ำดั้น รูปหน้าคน | 9. | อ่างเก็บน้ำห้วยสา บ้านคุ้ม | ||||
10. | น้ำตกขุนลาว บ้านคะแนง | 10. | โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ | ||||
11. | ดอยผาขาม | 11. | ภูอานม้า ต.ร่มเย็น | ||||
12. | น้ำตกห้วยเคียน | 12. | ถ้ำตาถ้ำยาย ต.ร่มเย็น | ||||
13. | วัดพระธาตุขุนห้วยสวด | 13. | ถ้ำบ้านวังถ้ำ ต.แม่ลาว | ||||
14. | ศูนย์หัตถกรรมไทลื้อทุ่งมอก | 14. | แนวกำแพงเก่าบ้านเวียง | ||||
15. | กู่ผาแดงบ้านกอม ต.เวียง | 15. | อ่างเก็บน้ำยวน | ||||
16. | วังตาด ต.ร่มเย็น | 16. | วัดร้องเก่า |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ศูนย์จำหน่ายสินค้าและของที่ระลึก | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | ศูนย์โอท็อป | ||||||
2. | ศูนย์ฯวัดพระนั่งดิน | ||||||
3. | ผ้าทอไทลื้อ บ้านทุ่งมอก | ||||||
4. | กาละแมโบราณ | ||||||
5. | ผักตบชวาและผ้าปักโครเช |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลหย่วน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านธาตุสบแวน หมู่ 1 | 9. | บ้านงุ้น | ||||
2. | บ้านธาตุสบแวน หมู่ 2 | 10. | บ้านใหม่นันทะวงค์ | ||||
3. | บ้านหย่วน | 11. | บ้านกอม | ||||
4. | บ้านมาง | 12. | บ้านป่าแดด | ||||
5. | บ้านดอนไชย | 13. | บ้านทุ่งบานเย็น | ||||
6. | บ้านแช่แห้ง | 14. | บ้านเปื๋อยเปียง | ||||
7. | บ้านแดนเมือง | 15. | บ้านเชียงคำ | ||||
8. | บ้านตลาด (วัดบุนนาค) | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลเวียง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านปี้ หมู่ที่ 1 | 6. | บ้านเวียง | ||||
2. | บ้านคือ | 7. | บ้านพระนั่งดิน | ||||
3. | บ้านทราย | 8. | บ้านดอนไชย | ||||
4. | บ้านล้า | 9. | บ้านดอนแก้ว | ||||
5. | บ้านไชยพรม | 10. | บ้านปี้ หมู่ที่ 10 | facebook |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลน้ำแวน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านน้ำแวน หมู่ที่ 1 | 8. | บ้านสนธิ์พัฒนา | ||||
2. | บ้านน้ำแวน หมู่ที่ 2 | 9. | บ้านห้วยบง | ||||
3. | บ้านไคร้ป่าคา | 10. | บ้านป่าแดงสามัคคี | ||||
4. | บ้านแม่ต๋ำ | 11. | บ้านก้าวเจริญ | ||||
5. | บ้านผาลาด | 12. | บ้านสันเวียงทอง | facebook |
|||
6. | บ้านชัยชุมภู | 13. | บ้านชัยเจริญ | ||||
7. | บ้านแม่ต๋ำท่าข้าม | 14. | บ้านแวนศรีชุม | ||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลเจดีย์คำ อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านวังเค็มเก่า | 7. | บ้านบุญยืน | ||||
2. | บ้านวังเค็มใหม่ | 8. | บ้านดอนลาว | ||||
3. | บ้านใหม่ไพรสนธิ์ | 9. | บ้านปิน | ||||
4. | บ้านปัวชัย | 10. | บ้านร่องค้อม | ||||
5. | บ้านปุ | 11. | บ้านอัมพร | facebook |
|||
6. | บ้านกว้าน | 12. | บ้านบุญชัย |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลฝายกวาง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านฝายกวาง | 10. | บ้านทุ่งหล่มใหม่ | ||||
2. | บ้านปัว (แหลง) | 11. | บ้านสันติสุข | ||||
3. | บ้านศรีพรม | 12. | บ้านบัวนาคพัฒนา | ||||
4. | บ้านหนอง (ลื้อ) |
13. | บ้านใหม่นาสา | ||||
5. | บ้านปัวใหม่ | 14. | บ้านศิวิไล | ||||
6. | บ้านทุ่งหล่ม | 15. | บ้านหนองใหม่ | ||||
7. | บ้านสลาบ | 16. | บ้านฐานพัฒนา | ||||
8. | บ้านแวนโค้ง | 17. | บ้านฝายกวาง | ||||
9. | บ้านใหม่เจริญไพร |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านปางวัว | 7. | บ้านเชียงคาน | ||||
2. | บ้านทุ่งมอก | 8. | บ้านสบแวน หมู่ 8 | ||||
3. | บ้านเชียงบาน หมู่ที่ 3 | 9. | บ้านแพทย์บุญเรือง | ||||
4. | บ้านเชียงบาน หมุ่ที่ 4 | 10. | บ้านเชียงบาน หมู่ที่ 10 | ||||
5. | บ้านแวนพัฒนา | 11. | บ้านฝั่งแวน | facebook |
|||
6. | บ้านแพด หมู่ที่ 6 |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลแม่ลาว อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านทุ่งเย็น หมู่ที่ 1 | 8. | บ้านกาญจนา | ||||
2. | บ้านทุ่งเย็น หมู่ที่ 2 |
9. | บ้านสบทุ | ||||
3. | บ้านผาลาด หมู่ที่ 3 |
10. | บ้านคะแนง | ||||
4. | บ้านวังถ้ำ | 11. | บ้านกอก | ||||
5. | บ้านแฮะ | 12. | บ้านผาลาดใหม่ | facebook |
|||
6. | บ้านน้ำมิน | 13. | บ้านน้ำมินเหนือ | ||||
7. | บ้านน้ำลาว | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลอ่างทอง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านเนินสามัคคี | 8. | บ้านสันปูเลย | ||||
2. | บ้านดอยอิสาน | 9. | บ้านปางมดแดง | ||||
3. | บ้านหล่ายพัฒนา | 10. | บ้านปางมดแดงใหม่ | ||||
4. | บ้านบ่อน้อย | 11. | บ้านเนินสายกลาง | ||||
5. | บ้านหนองบัวเงิน | 12. | บ้านจำบอนใหม่ | facebook |
|||
6. | บ้านนาเจริญ | 13. | บ้านนาเจริญ | ||||
7. | บ้านจำบอน | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลทุ่งผาสุข อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านหัวทุ่ง | 5. | บ้านหัวทุ่งใหม่ | ||||
2. | บ้านทุ่งควบ | 6. | บ้านทุ่งผาสุข | ||||
3. | บ้านผาฮาว | 7. | บ้านใหม่เจริญ | ||||
4. | บ้านไร่แสนสุข | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ดอยผาขามและอ่างน้ำยวน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | กว่าจะมาเป็นแม่น้ำยวน 1 | 10. | ตำนานนกหัสดิลิงค์ | ||||
2. | กว่าจะมาเป็นแม่น้ำยวน 2 | 11. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 1 | ||||
3. | กว่าจะมาเป็นแม่น้ำยวน 3 | 12. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 2 | ||||
4. | ที่มาโครงการอ่างเก็บน้ำยวน 1 | 13. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 3 | ||||
5. | ที่มาโครงการอ่างเก็บน้ำยวน 2 | 14. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 4 | ||||
6. | เสียงน้อยๆคอยติดตามอ่างฯ | 15. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 5 | ||||
7. | ดอยผาขามตำนานสอนใจ 1 | 16. | ถ้ำผาแดง-ถ้ำน้ำลอด | ||||
8. | ดอยผาขามตำนานสอนใจ 2 | 17. | ยอดวิวดอยผาขาม | ||||
9. | ตำนานพระสนธนมโนราห์ | 18. | ถ้ำรูปหน้าคนที่บ้านห้วยปุ้ม | ||||
ข้อมูลประวัติและรูปภาพชนชาติพันธุ์ต่างๆ | |||||||
ชนชาติพันธุ์ในไทยและที่มีอยู่อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชนชาติพันธุ์ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชนชาติพันธุ์ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | ชนชาติพันธุ์ไตยวน | 12. | ชนชาติพันธุ์ลาหู่หรือมูเซอ | ||||
2. | ชนชาติพันธุ์ไทลื้อ | 13. | ชนชาติมลาบรีหรือผีตองเหลือง | ||||
3. | ชนชาติพันธ์ุเผ่าเมี่ยนหรือเย้า | 14. | ชนชาติพันธุ์ภูไท | ||||
4. | ชนชาติพันธุ์เผ่าม้งหรือแม้ว | 15. | ชนชาติพันธุ์ลาวโซ่ง | ||||
5. | ชนชาติพันธุ์อีสาน | 16. | ชนชาติพันธุ์ส่วยหรือชาวกูย | ||||
6. | ชนชาติพันธุ์ไทใหญ่ | 17. | ชนชาติพันธุ์ชาวมอญ | ||||
7. | ชนชาติพันธุ์ปกากญอ | 18. | ชนชาติพันธุ์ชาวเล | ||||
8. | ชนชาติพันธุ์อาข่าหรืออีก้อ | 19. | ชนชาติพันธุ์ชาวใต้ | ||||
9. | ชนชาติพันธุ์ขมุ | 20. | ชนชาติพันธุ์ละหว้าหรือลัวะ | ||||
10. | ชนชาติพันธุ์ไทเขิน | 21. | ศูนย์อพยพภูซาง | ||||
11. | ชนชาติพันธุ์ลาวเวียง ลาวครั่ง |
อาหารการกินคนเมืองล้านนา | |||||||
อาหารการกินคนเมืองล้านนา | |||||||
ที่ | เรื่อง / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | เรื่อง/ เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | อาหารล้านนาบ้านเฮา | 1. | น้ำพริกเห็ดด่าน | ||||
2. | ดอกงิ้ว ทำน้ำขนมจีน | 2. | เห็ดดิน เห็ดเหลือง เห็ดแดง | ||||
3. | อ่อมจิ้นล้านนา | 3. | เห็ดถอบ | ||||
4. | แกงมะฟักใส่ไก่ | 4. | เห็ดขอนขาว | ||||
5. | แกงผักปั๋ง | 5. | เห็ดลม | ||||
6. | น้ำพริกน้ำผัก | 6. | เห็ดฟาง | ||||
7. | ส้ามะลิดไม้ | 7. | ผัดเผ็ดหมูป่า | ||||
8. | น้ำพริกมะกอก | 8. | เห็ดหูหนูหรือเห็ดโล๊ะหละ | ||||
9. | อาหารที่ทำจากมดส้ม | 9. | ลาบหมี่หมู | ||||
10. | คั่วดอกหอมใส่ไข่ | 10. | ส้มตำประเภทต่างๆ | ||||
11. | มะแขว่นเครื่องปรุงรสล้านนา | 11. | ไส้ย่าง | ||||
12. | อาหารที่ทำจากจี้กุ่ง | 12. | แมงมันของบ่เขียม | ||||
13 | หวายของป่าหากินยาก | 13. | ยำปลากระป๋อง | ||||
14. | แกงกระด้าง | 14. | ข้าวกั๊นจิ้น | ||||
15. | แกงขนุน | 15. | ข้าวแรมฟืน | ||||
16. | แกงผักหละ หรือ ผักชะอม | 16. | ตัวต่อ น้ำพริกต่อ | ||||
17. | ส้ากุ้งหรือกุ้งเต้น | 17. | แกงหน่อไม้ใส่เห็ดอีกหม้อ | ||||
18. | น้ำพริกข่าต้มเห็ดถอบ | 18. | ยำหน่อไม้ใส่น้ำปู | ||||
19. | มะนอยน้อย | 19. | ส้าใบมะม่วง | ||||
20. | จิ้นส้มคนเมือง | 20. | แกงหน่อไม้ | ||||
21. | แกงหวายอีกแบบ | 21. | ตำขนุน | ||||
22. | แกงหอย | 22. | แกงผักชะอม | ||||
23. | ยำไก่เมืองเหนือเฮา | 23. | คั่วผักหม | ||||
24. | แกงหยวกกล้วย | 24. | ข้าวซอย | ||||
25. | ยำปลาแห้ง | 25. | อ๊อกปู๋นา สุดยอดอาหาร | ||||
26. | ตำเตา | 26. | ไส้อั่ว | ||||
27. | แกงแค | 27. | ส้มตำข้าวเหนียวไก่อบฟาง | ||||
28. | แก๋งมะบวบ | 28. | หลามปลาหลามเนื้อ | ||||
29. | คั่วยอดฟักทอง | 29. | ยำไส้ตัน | ||||
30. | แกงผักจี | 30. | ปลานึ่ง | ||||
31. | แกงหนัง | 31. | จี้กุ่งทอด | ||||
32. | ห่อนึ่งประเภทต่างๆ | 32. | ปลาเผาจิ้มน้ำพริก | ||||
33. | ตำถั่วฝักยาว | 33. | ขุดปูนา | ||||
34. | น้ำพริกจี้กุ่ง และจี้กุ่งทอด | 34. | ห่อนึ่งเห็น | ||||
35. | จิ้นนึ่งกับน้ำพริกข่า | 35. | ขนมข้าวควบ | ||||
36. | น้ำพริกหนุ่ม | 36. | ขนมข้าวแคบ | ||||
37. | ตำมะเขือยาว | 37. | ต้มโคล้งปลา ต้มยำปลา | ||||
38. | ตำมะเหิด หรือ มะระขี้นก | 38. | ไก ตะ สาหร่ายน้ำจืด | ||||
39. | น้ำพริกมะขามสด | 39. | หม่าขี้เบ้า | ||||
40. | น้ำพริกอ่อง | 40. | ต้นดอกงิ้ว | ||||
41. | ยำหน่อไม้ | 41. | แอปเปิ้ลเมือง | ||||
42. | น้ำพริกหนุ่มแคปหมู | 42. | ข้าวหนึกงา | ||||
43. | ตำถั่วฝักยาวอีกแบบ | 43. | ข้าวหนมเหนียบ | ||||
44. | ยำงูสิงห์ | 44. | ขนุนสุก | ||||
45. | ข้าวหนมปาด | 45. | มะรื่นหรือมะมื่น | ||||
46. | ข้าวหนมแตน | 46. | หม่ามู้ หรือ หม่ากู้ | ||||
47. | หมอบั่วหอมเตียม | 47. | ต้นมะแขว่น | ||||
48. | น้ำผึ้งเดือนห้า | 48. | ตั๊กแตนข้าว | ||||
49. | ขนมที่ทำจากกล้วย | 49. | มะหลอด | ||||
50. | หลามปลา | 50. | มะปราง | ||||
51. | มะม่วงหิมพานต์ | 51. | หนอนไม้ไผ่ | ||||
52. | ปลาหมึกย่าง | 52. | ข้าวเหนียวมะม่วง | ||||
53. | ไก่อบฟาง | 53. | น้ำพริกมะขาม | ||||
54. | จะค่าน เครื่องปรุงรส สุดยอด | 54. | มดส้มหรือมดแดง | ||||
55. | ด้วงสาคู ด้วงมะพร้าว | 55. | เรื่องกล้วยๆ | ||||
56. | ไส้หมูย่าง | 56. | แกงเห็ดลมเห็ดกระด้าง | ||||
57. | มะม่วงหิมพานต์ | 57. | กำกิ๋นบ้านเฮา | ||||
58. | ข้าวเหนียวมะม่วง | 58. | อาหารคนเมือง | ||||
59. | มะหลอดผลไม้ล้านนา | 59. | รวมอาหารล้านนาเฮา | ||||
60. | ตองและกล้วยป่า | 60. | ดอกคำปุ๋ยหรือดอคำฝอย |