![]() |
||
พญาคำฟู ยุคการวางฐานอำนาจของอาณาจักรล้านนาเมื่อพญางำเมืองสิ้นพระชนม์ลง ในปีพุทธศักราช 1841 ที่เมืองงาว พระราชโอรส คือพญาคำแดง ได้สืบต่อราชสมบัติแทน จนกระทั่งปีพุทธศักราช 1851 ได้เกิดพวกกบฏแกวญวนได้เข้ามาโจมตีเมืองพุทธรส ซึ่งถือเป็นเมืองหน้าด่านของอาณาจักรภุกาม หรือ ภูกามยาว ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอาณาจักรภุกาม นั่นก็คือ เมืองเชียงคำ นั่นเอง พญาคำแดง ได้ยกกองทัพม้ากว่า 500 ตัวได้มาปราบพวกแกวญวน จนสามารถตีเอาเมืองพุทธรสคืนได้เป็นผลสำเร็จ และได้แต่งตั้งเจ้าฟ้านั่งเมือง ซึ่งเป็นศักดิ์เป็นพระนัดดาหรือเป็นหลานของเจ้าเมืองพุทธรส พระนามว่า เจ้าฟ้านั่งเมือง ให้ครองเมืองพุทธรสสืบต่อมา และพระองค์ก็เสด็จกลับไปครองอาณาจักรภุกามสืบมาได้อีกว่าสิบปี
เมื่อปีพุทธศักราช 1861 พญาคำแดง ได้เสด็จมาครองเมืองพุทธรส และได้สละราชสมบัติ ให้พญาคำลือ ซึ่งเป็นพระราชโอรสของพระองค์เอง ครองราชสมบัติในอาณาจักรภุกามสืบต่อมา ในสมัยการปกครองของพ่อขุนคำลือ แห่งอาณาจักรภุกาม พระยาคำฟู ผู้ครองนครชัยบุรีศรีเชียงแสน ได้ชวนพระยากาวเมืองน่าน ยกทัพไปตีเมืองพะเยา แต่กองทัพของพระยาคำฟูตีเมืองพะเยาได้ก่อน และได้ขนทรัพย์สินและสมบัติต่างๆ กลับไปยังเมืองเชียงแสน โดยไม่ยอมแบ่งให้กับกองทัพของพญากาวน่าน จึงทำให้กองทัพของพญากาวน่าน ก็เกิดขัดใจกันและทำการสู้รบกันขึ้น กองทัพของพระยาคำฟูเสียที ก็เลยยกทัพกลับไปยังเชียงแสน กองทัพพระยากาวเมืองน่านได้ยกทัพติดตามไปตีถึงเมืองฝางมาได้ แต่ถูกทัพของพระยาคำฟูตีขนาบหลัง จนกองทัพของพญากาวน่าน ต้องยกทัพถอยล่นกลับเมืองน่าน เมืองพะเยาในสมัยนั้นอ่อนแอมาก จึงได้ถูกผูกรวมอยู่กับอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นและ และในปีพุทธศักราช 1949 พระเจ้าไสลือไทยแห่งอยุธยา ก็ได้ยกกองทัพหมายตีเมืองเชียงใหม่และผ่านเขตเมืองพะเยา หมายตีเอาเมืองพะเยาด้วย แต่ไม่สำเร็จ
พญาคำฟู หรือที่เรียกกันว่า เจ้าคำฟู หรือท้าวคำฟู เป็นพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์เม็งราย แห่งอาณาจักรล้านนา ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1877 – 1879 รวมระยะเวลาการครองราชย์ เพียง 2 ปี เท่านั้น จากการแย่งชิงราชสมบัติจากพญาแสนภู การกระทำการในครั้งนี้ได้สร้างความพิโรธให้กับพญาไชยสงคราม ซึ่งทรงปกครองเมืองเชียงรายอยู่เป็นอย่างมาก ดังนั้นแล้ว เมื่อพญาคำฟูได้ทรงครองราชย์ พระองค์จึงได้ทรงย้ายราชธานีจากนครเชียงใหม่ กลับไปยังอยู่ยังเมืองเชียงแสนอีกครั้ง แต่ในที่สุด พระองค์ก็ถูกพญาไชยสงครามปราบแล้วถูกจองจำอยู่ที่ในป้อมปราการด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองเชียงใหม่ (แจ่งกู่เฮือง)
พญาผากอง (ผู้ปู่)หรือพญาผานอง เป็นโอรสของเจ้าเก้าเกื่อนหรือปู่ฟ้าฟื้น เดิมชื่อขุนใสหรือขุนใส่ยศ สืบเชื้อสายมาจากพญาภูคา เจ้าเมืองภูคา ขุนฟอง ปู่ของพญาผานองแยกมาตั้งเมืองพลัวหรือเมืองปัว ครองราชย์ พ.ศ. 1863 – 1892 เมื่อสวรรคตแล้ว โอรสสององค์คือเจ้าไสและเจ้ากานเมืองได้ครองราชย์ต่อมา เจ้ากานเมืองมีโอรสชื่อพญาผากอง ครองราชย์ พ.ศ. 1904 – 1929 พญาผากองนี้เป็นผู้สร้างเมืองน่านที่เวียงกุม บ้านห้วยไคร้ เมื่อ พ.ศ. 1909 เชื้อสายของพญาผากองได้ครองเมืองน่านจนถึงเจ้าผาแสงเป็นองค์สุดท้าย ก่อนที่ทางเชียงใหม่จะส่งคนมาปกครองเมืองน่านโดยตรง พญาผากอง (ผู้หลาน)นี้น่าจะเป็นองค์เดียวกับท้าวผาคอง ในพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐฯที่ ยกทัพมาช่วยสุโขทัยรบกับสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 1919 ซึ่งทัพท้าวผาคองแตก ถูกฝ่ายอยุธยาจับเป็นเชลยได้มาก พญาคำฟู (พ.ศ. 1877-1879) รัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์มังราย เมื่อพญาแสนภูสิ้นพระชนม์ พญาคำฟูได้ขึ้นครองราชย์ พญาคำฟูทรงมอบให้ พญาผายูราชโอรสครองเมืองเชียงใหม่ ส่วนพระองค์เสด็จไปประทับอยู่ที่เมืองเชียงแสน อาณาจักรล้านนาในสมัยนี้ มีความเข้มแข็ง เห็นได้จากนโยบายขยายอาณาเขตไปทางตะวันออก โดยเริ่มทำสงครามกับพะเยาในปี พ.ศ. 1883 ซึ่งมีผู้ปกครองคือ พญาคำลือ โดยพญาคำฟูทรงชักชวนพญากาวแห่งเมืองน่าน ยกทัพไปตีเมืองพะเยา แต่พญาคำฟูเข้าเมืองพะเยา จึงเอาทรัพย์สินในเมืองทั้งไปทั้งหมด พญากาวน่าน จึงยกทัพมาตีพญาคำฟู พญาคำฟูเสียที ก็เลยยกทัพกลับเชียงแสน กองทัพพญากาวเมืองน่านติดตามไปยกทัพเลยไปตีถึงเมืองฝางได้ แต่ก็ถูกทัพของพญาคำฟูที่ยกทัพใหญ่กว่ามาตีถอยล่นกลับเมืองน่าน เมืองพะเยาในสมัยนั้นอ่อนแอมาก จึงได้ถูกยึดเมืองผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่ง ของอาณาจักล้านนานับแต่นั้นมา หลังจากยึดพะเยาได้แล้ว พ.ศ. 1883 พญาคำฟูขยายอำนาจไปยังเมืองแพร่ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ จึงถอยทัพกลับมาทางเมืองลำปาง มาประทับทีเมืองเชียงใหม่ (แสดงให้เห็นว่า การรวบรวมหัวเมืองต่างๆ ทางตะวันออกของล้านนา ไม่ใช่กระทำได้ง่าย ๆ และการย้ายที่ประทับของกษัตริย์มายังแคว้นตอนบนถึง 3 รัชกาลติดต่อกัน ก็เป็นเหตุผลด้านยุทธศาสตร์
ปีพ.ศ. 1887 พญาคำฟูสิ้นพระชนม์ที่ เมืองเชียงคำ เสด็จไปเยี่ยมพระสหายเป็นเศรษฐีใหญ่ชื่องัวหงส์อยู่เมืองเชียงคำ อันตั้งอยู่ฝั่ง แม่น้ำคำ* พระญาคำฟูกับเศรษฐีงัวหงส์คนนี้รักใคร่กันมาก จนถือน้ำสาบานต่อกันว่าจะ ไม่คิดร้ายต่อกัน หากผู้ใดผู้หนึ่งคิดร้าย ขอให้มีอันเป็นไปถึงชีวิต เศรษฐีงัวหงส์ เป็นคนค่อนข้างขี้ริ้วขี้เหร่อยู่ แต่น้ำใจงดงาม ทั้งยังมีภรรยาสาวสวยชื่อ นางเรือนแก้ว เมื่อพญาคำฟูเสด็จถึงบ้านเศรษฐีนางเรือนแก้ว ก็ต้อนรับขับสู้ด้วยความสนิทสนม เอาน้ำมาล้างพระบาทให้ เมื่อวันเวลาผ่านมาผ่านไปด้วยความสนิทชิดใกล้ประกอบกับนางเรือนแก้วก็เป็นคนสวย ทั้งสองก็มีความพึงพอใจต่อกัน พญาคำฟูและนางเรือนแก้ว จึงลักลอบสมัครสังวาสกัน ด้วยเหตุที่พระองค์เสียสัตย์สาบานต่อมหามิตร ครั้นอยู่มาได้ 7 วัน พญาคำฟูลงไปสรงน้ำดำเศียรเกล้าที่ * แม่น้ำคำ ก็มีเงือกผีพรายน้ำใหญ่ตัวหนึ่ง (จระเข้) ออกมาจากเงื้อมผา ตรงเข้าขบกัดเอาร่างพญาคำฟูหายลงไปในน้ำผ่านไปถึง 7 วัน ร่างของพญาคำฟูจึงลอยขึ้นมาบนแม่น้ำคำ พระองค์สวรรคตเมื่อพระชนม์ 47 พรรษา เสนาอำมาตย์ จึงเชิญพระศพกลับเมืองเชียงแสน แจ้งข่าวไปนครเชียงใหม่ แล้วจึงทูลเชิญเสด็จท้าวผายู มาจัดการพระบรมศพถวายพระเพลิงพระศพของพญาคำฟู แล้วอัญเชิญพระอัฐิ และพระอังคารของพระองค์บรรจุลงในผอบทองคำชั้นหนึ่ง ผอบเงินชั้นหนึ่ง ผอบทองแดงอีกชั้นหนึ่งไปยังนครเชียงใหม่ แล้วก่อพระสถูปเจดีย์องค์เล็กบรรจุไว้ ณ ริมตลาดลีเชียง แล้วโปรดให้สร้างพระวิหารขึ้นหลังหนึ่งในปี พ.ศ. 1888 ตั้งชื่อว่าวัดลีเชียง (ปัจจุบันคือวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร) แล้วนิมนต์พระมหาอภัยจุฬาเถรเจ้า เมืองหริภุญชัยมาเป็นเจ้าอาวาส จนมาถึงปี พ.ศ. 2469 สมัยเจ้าแก้วนวรัฐครองเมืองเชียงใหม่ พระองค์ได้นิมนต์ครูบาศรีวิชัย นักบุญล้านนาไทย มาทำการบูรณะวัดนี้ ท่านให้แผ้วถางบริเวณด้านเหนือพระวิหาร เห็นพระสถูปองค์เล็กเหนือวิหารนั้น กีดขวางจึงให้คนขุดออก จึงได้พบผอบบรรจุอัฐิ พร้อมด้วยเครื่องราชูปโภค ทำด้วยทองคำหนักหลายสิบบาท จึงให้สอบตำนานดู จึงทราบว่า เป็นของพระเจ้าคำฟู เนื่องด้วย ในผอบที่ขุดค้นพบพระโกฏิที่บรรจุพระอัฐิของพระองค์ มีทองคำจารึกลายพระนาม ของพระมหาเถรในยุคนั้น มีหนักถึง ๓๖๐ บาท ท่านจึงนำไปฝากไว้ศาลากลางจังหวัด ต่อมาเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ทางการได้ย้ายศาลากลางไปอยู่ข่วงสิงห์ ผอบจึงได้หายสาบสูญไป ส่วนนางเรือนแก้วมีความเสียใจมาก จึงผูกคอตาย เศรษฐีงัวหงส์ ก็เสียใจต่อเหตุการณ์ จึงถือศีลออกบวชภาวนาตลอดชีวิต เมื่อพญาคำฟูสิ้นพระชนม์ ท้าวผายูได้สืบราชสมบัติแทน แต่ไม่ได้เสด็จไปประทับอยู่เมืองเชียงแสน คงประทับอยู่ที่เมืองเชียงใหม่ ดังนั้น เมืองเชียงใหม่ จึงได้มีความสำคัญกลายเป็นศูนย์กลาง ของราชอาณาจักรอีกครั้ง และนับตั้งแต่นี้เป็นต้นไปเมืองเชียงใหม่ ได้กลายเป็น ราชธานี ของอาณาจักรล้านนาอย่างแท้จริง และกษัตริย์ล้านนาในลำดับต่อๆมา ก็จะประทับอยู่ที่เมืองเชียงใหม่แทบทุกพระองค์ แผ่นจารึกมหาเจดีย์และกู่บรรจุอัฐิพระญาคำฟู ในสมัยของพญาไชยสงครามและสมัยของพญาคำฟูนั้น นับว่า เป็นสมัยของการสร้างราชอาณาจักรล้านนา ซึ่งเป็นรากฐานของความรุ่งเรือง และมหาอำนาจในกาลต่อมา ตั้งแต่สมัยพญาไชยสงคราม จนถึงสมัยพระญาคำฟู ได้มีการย้ายที่ประทับของพระมหากษัตริย์ขึ้นไปยังเชียงรายและเชียงแสนตามลำดับ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า อาณาจักรล้านนา ช่วงรัชสมัยพญาไชยสงครามจนถึงพญาคำฟู มีศูนย์กลาง ๒ แห่ง คือ บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำกก มีศูนย์กลางที่เชียงรายกับเชียงแสนตามลำดับ และเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง มีศูนย์กลางอยู่ที่เชียงใหม่ สันนิษฐานว่า การย้ายที่ประทับขึ้นไปอยู่แคว้นโยนน่าจะมาจากปัจจัยสำคัญ ๒ ประการดังนี้ 1. การรวมภูกามยาว เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนา แม้ว่า พญามังรายมหาราชจะประสบความสำเร็จอย่างสูง ในการสร้างเชียงใหม่ ให้เป็นศูนย์กลางของอาณาจักรล้านนา โดยรวบรวมเมืองต่างๆ ในเขตแคว้นโยนก และเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง เข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนาได้แล้วก็ตาม แต่เข้าใจว่า ในเขตแคว้นโยนก อาณาจักรล้านนา ยังมิได้มีอำนาจเหนือเมืองต่างๆ ได้อย่างเบ็ดเสร็จ โดยเฉพาะอาณาจักรภูกามยาว ที่ยังมิได้รวมเข้ากับล้านนาอย่างแท้จริง มีฐานะเป็นเพียงพันธมิตร และในสมัยพระญาไชยสงคราม มีฐานะเป็นเครือญาติ โดยการแต่งงานระหว่าง พระญาคำแดงเจ้าเมืองภูกามยาวกับพระนางแก้วพอตา พระธิดาของพญาไชยสงคราม สมัยพญาคำฟู พระองค์ก็สร้างพันธมิตรกับเมืองน่านร่วมมือกันยกทัพเข้าไปโจมตีภูกามยาว และหลังจากนั้นเป็นต้นมา ผู้ปกครองที่ขึ้นครองเมืองพะเยา จะต้องได้รับความเห็นชอบจากพระมหากษัตริย์ที่เชียงใหม่ (หอวชิรญาณ บัญชีหนังสือจ้างแปล แฟ้มที่ ๑๔ เลขที่ ๔๓ พงศาวดารเมืองพะเยา: ๕๖) และมักจะถูกส่งมาจากเชียงใหม่เสมอ (ประชุมจารึกเมืองพะเยา ๒๕๓๘: ๕๘-๖๗) 2.การขยายเขตแดนของอาณาจักรไปจดแม่น้ำโขง ด้วยการตั้งเมืองเชียงแสน ออกไปประชิดแม่น้ำโขงและใช้แม่น้ำโขงเป็นคูเมือง ธรรมชาติ ฉะนั้น บทบาทสำคัญของเชียงแสนคือ เป็นเมืองหน้าด่าน ในการรับศึกตอนบน และเป็นศูนย์กลางตอนบน ในการรับสินค้าจากทางตอนเหนือของพม่าและทางตอนใต้ของจีน ซึ่งเป็นแหล่งสินค้าสำคัญ เช่น อัญมณี ทองเหลือง และชะมดเช็ด เป็นต้น การสร้างอำนาจประชิดแม่น้ำโขงอีกวิธีการหนึ่งคือ การสร้างพันธมิตรกับเมืองเชียงของ ด้วยการแต่งงานระหว่างพญาผายู โอรสของพญาคำฟูกับพระนางจิตราเทวีพระธิดาเจ้าเมืองเชียงของ ซึ่งมีพระโอรสคือ พญากือนา ผู้ปกครองอาณาจักรล้านนาลำดับที่ 6 และพญากือนาเอง ก็แต่งงานกับหลานของเจ้าเมืองเชียงของเช่นกัน ความสำคัญของเชียงของ คือเป็นเมืองหน้าด่านรับสินค้าทางฝั่งหลวงพระบาง ซึ่งสินค้าที่ทำรายได้ ที่มาจากหลวงพระบางเช่นครั่งและกำยาน เป็นต้น ในสมัยรัชกาลพญาผายูโอรสของพญาคำฟู ได้ทรงย้ายที่ประทับกลับลงมาที่เชียงใหม่ตามเดิม ผู้ปกครองเชียงใหม่ พระองค์ต่อๆมาได้ดำเนินนโยบายในการสร้างเชียงใหม่ ให้เป็นศูนย์กลางที่เข้มแข็ง และเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรในทุกๆ ด้าน ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และศูนย์กลางของแนวความคิด เป็นต้น กู่บรรจุอัฐิพญาคำฟู วัดพระสิงห์วรวิหาร จ.เชียงใหม่ กู่อัฐิของ พญาคำฟู เป็นกู่เล็กๆ ลักษณะเป็นทรงกลมเส้นรอบวงประมาณเมตรครึ่งด้านบนเป็นแผ่นศิลาทรงกลมปิดไว้ อยู่ด้านหน้าพระอุโบสถทางทิศเหนือเยื้องขวาไปประมาณ 10 เมตร คนส่วนใหญ่เข้าใจว่า พระธาตุหลวงเป็นที่บรรจุอัฐิของพญาคำฟู ซึ่งสมัยของครูบาศรีวิชัย มาแผ้วถางบูรณะวัดพระสิงห์วรมหาวิหาร ได้พบกู่อัฐิค้นพบข้างในมีผอบบรรจุอัฐิซ้อนกัน 3 ใบ ชั้นนอกทำด้วยทองเหลืองหนัก 254 บาท 3 สลึง สูง 23 นิ้ว ชั้นกลางทำด้วยเงินหนัก 185 บาท 2 สลึง สูง 18 นิ้ว ชั้นในสุด ทำด้วยทองคำหนัก 122 บาท 2 สลึง สูง 14 นิ้ว และยังพบแผ่นทองจารึกเรื่องราวต่าง ๆ สันนิษฐานว่า น่าจะเป็นอัฐิของพญาคำฟู ผู้สร้างวัด ทางราชการได้นำไปเก็บไว้ที่ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ชั่วคราว ซึ่งตั้งอยู่ที่ข่วงสิงห์ และขณะนั้นเกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา ผอบทั้ง 3 ใบ และจารึกตลอดถึงเครื่องราชูปโภคเหล่านั้น ได้สูญหายไปในขณะเกิดสงครามซึ่ง ประมาณปี พ.ศ. 2484 |
ช่วงนี้กำลังอัพเดทอข้อมูลและเรื่องราวต่างๆเรื่อยๆทุกวันครับ ขอบคุณที่เข้ามาติดตามรับชมนะครับ
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ลิงค์ หน่วยงานสาธารณสุข ในอำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | โรงพยาบาลเชียงคำ | 1. | ศูนย์กู้ชีพ รพ.เชียงคำ |
||||
2. | สาธารณสุขอำเภอเชียงคำ | 2. | มูลนิธิสยามรวมใจปู่อินทร์ | ||||
3. | รพ.สต. หย่วน | 3. | คลีนิคหมอ | ||||
4. | รพ.สต. เวียง | 4. | คลีนิคหมอ | ||||
5. | รพ.สต. เชียงบาน | 5. | คลีนิคหมอ | ||||
6. | รพ.สต. น้ำแวน | 6. | คลีนิคหมอ | ||||
7. | รพ.สต. ผาลาด | 7. | คลีนิคหมอ | ||||
8. | รพ.สต. ฝายกวาง | 8. | คลีนิคหมอ | ||||
9. | รพ.สต. แวนโค้ง | 9. | คลีนิคหมอ | ||||
10. | รพ.สต. ทุ่งผาสุข | 10. | คลีนิคหมอ | ||||
11. | รพ.สต. แม่ลาว | 11. | คลีนิคหมอ | ||||
12. | รพ.สต. น้ำมิน | 12. | คลีนิคหมอ |
||||
13. | รพ.สต. จำบอน | 13. | คลีนิคหมอ | ||||
14. | รพ.สต. สันปูเลย | 14. | คลีนิคหมอ | ||||
15. | รพ.สต. ปางมดแดง | 15. | คลีนิคหมอ | ||||
16. | รพ.สต. เจดีย์คำ | 16. | คลีนิคหมอ | ||||
17. | รพ.สต. ร่มเย็น | 17. | คลีนิคหมอ | ||||
18. | รพ.สต. หนองป่าแพะ | 18. | คลีนิคหมอ | ||||
19. | รพ.สต. ปางถ้ำ | 19. | คลีนิคหมอ |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ลิงค์ สถานที่ท้องเที่ยวทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของเชียงคำ | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | วัดพระธาตุดอยคำ | 1. | อุทยานแห่งชาติภูซาง | ||||
2. | วัดพระนั่งดิน | 2. | วัดแสนเมืองมา | ||||
3. | วัดนันตาราม | 3. | ศูนย์วัฒนธรรมไทลื้อ | ||||
4. | อนุสรณ์ผู้เสียสละ | 4. | วัดพระธาตุสบแวน | ||||
5. | น้ำตกน้ำมิน | 5. | ด่านชายแดนบ้านฮวก | ||||
6. | อ่างเก็บน้ำบ้านแฮะ | 6. | ถ้ำผาแดง ถ้ำน้ำลอด ปางถ้ำ | ||||
7. | อ่างเก็บน้ำแม่ต๋ำ | 7. | ถ้ำห้วยสา | ||||
8. | น้ำตกคะแนง | 8. | อ่างเก็บน้ำห้วยสา บ้านห้วยสา | ||||
9. | ถ้ำห้วยน้ำดั้น รูปหน้าคน | 9. | อ่างเก็บน้ำห้วยสา บ้านคุ้ม | ||||
10. | น้ำตกขุนลาว บ้านคะแนง | 10. | โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ | ||||
11. | ดอยผาขาม | 11. | ภูอานม้า ต.ร่มเย็น | ||||
12. | น้ำตกห้วยเคียน | 12. | ถ้ำตาถ้ำยาย ต.ร่มเย็น | ||||
13. | วัดพระธาตุขุนห้วยสวด | 13. | ถ้ำบ้านวังถ้ำ ต.แม่ลาว | ||||
14. | ศูนย์หัตถกรรมไทลื้อทุ่งมอก | 14. | แนวกำแพงเก่าบ้านเวียง | ||||
15. | กู่ผาแดงบ้านกอม ต.เวียง | 15. | อ่างเก็บน้ำยวน | ||||
16. | วังตาด ต.ร่มเย็น | 16. | วัดร้องเก่า |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ศูนย์จำหน่ายสินค้าและของที่ระลึก | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | ศูนย์โอท็อป | ||||||
2. | ศูนย์ฯวัดพระนั่งดิน | ||||||
3. | ผ้าทอไทลื้อ บ้านทุ่งมอก | ||||||
4. | กาละแมโบราณ | ||||||
5. | ผักตบชวาและผ้าปักโครเช |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลหย่วน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านธาตุสบแวน หมู่ 1 | 9. | บ้านงุ้น | ||||
2. | บ้านธาตุสบแวน หมู่ 2 | 10. | บ้านใหม่นันทะวงค์ | ||||
3. | บ้านหย่วน | 11. | บ้านกอม | ||||
4. | บ้านมาง | 12. | บ้านป่าแดด | ||||
5. | บ้านดอนไชย | 13. | บ้านทุ่งบานเย็น | ||||
6. | บ้านแช่แห้ง | 14. | บ้านเปื๋อยเปียง | ||||
7. | บ้านแดนเมือง | 15. | บ้านเชียงคำ | ||||
8. | บ้านตลาด (วัดบุนนาค) | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลเวียง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านปี้ หมู่ที่ 1 | 6. | บ้านเวียง | ||||
2. | บ้านคือ | 7. | บ้านพระนั่งดิน | ||||
3. | บ้านทราย | 8. | บ้านดอนไชย | ||||
4. | บ้านล้า | 9. | บ้านดอนแก้ว | ||||
5. | บ้านไชยพรม | 10. | บ้านปี้ หมู่ที่ 10 | facebook |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลน้ำแวน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านน้ำแวน หมู่ที่ 1 | 8. | บ้านสนธิ์พัฒนา | ||||
2. | บ้านน้ำแวน หมู่ที่ 2 | 9. | บ้านห้วยบง | ||||
3. | บ้านไคร้ป่าคา | 10. | บ้านป่าแดงสามัคคี | ||||
4. | บ้านแม่ต๋ำ | 11. | บ้านก้าวเจริญ | ||||
5. | บ้านผาลาด | 12. | บ้านสันเวียงทอง | facebook |
|||
6. | บ้านชัยชุมภู | 13. | บ้านชัยเจริญ | ||||
7. | บ้านแม่ต๋ำท่าข้าม | 14. | บ้านแวนศรีชุม | ||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลเจดีย์คำ อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านวังเค็มเก่า | 7. | บ้านบุญยืน | ||||
2. | บ้านวังเค็มใหม่ | 8. | บ้านดอนลาว | ||||
3. | บ้านใหม่ไพรสนธิ์ | 9. | บ้านปิน | ||||
4. | บ้านปัวชัย | 10. | บ้านร่องค้อม | ||||
5. | บ้านปุ | 11. | บ้านอัมพร | facebook |
|||
6. | บ้านกว้าน | 12. | บ้านบุญชัย |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลฝายกวาง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านฝายกวาง | 10. | บ้านทุ่งหล่มใหม่ | ||||
2. | บ้านปัว (แหลง) | 11. | บ้านสันติสุข | ||||
3. | บ้านศรีพรม | 12. | บ้านบัวนาคพัฒนา | ||||
4. | บ้านหนอง (ลื้อ) |
13. | บ้านใหม่นาสา | ||||
5. | บ้านปัวใหม่ | 14. | บ้านศิวิไล | ||||
6. | บ้านทุ่งหล่ม | 15. | บ้านหนองใหม่ | ||||
7. | บ้านสลาบ | 16. | บ้านฐานพัฒนา | ||||
8. | บ้านแวนโค้ง | 17. | บ้านฝายกวาง | ||||
9. | บ้านใหม่เจริญไพร |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านปางวัว | 7. | บ้านเชียงคาน | ||||
2. | บ้านทุ่งมอก | 8. | บ้านสบแวน หมู่ 8 | ||||
3. | บ้านเชียงบาน หมู่ที่ 3 | 9. | บ้านแพทย์บุญเรือง | ||||
4. | บ้านเชียงบาน หมุ่ที่ 4 | 10. | บ้านเชียงบาน หมู่ที่ 10 | ||||
5. | บ้านแวนพัฒนา | 11. | บ้านฝั่งแวน | facebook |
|||
6. | บ้านแพด หมู่ที่ 6 |
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลแม่ลาว อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านทุ่งเย็น หมู่ที่ 1 | 8. | บ้านกาญจนา | ||||
2. | บ้านทุ่งเย็น หมู่ที่ 2 |
9. | บ้านสบทุ | ||||
3. | บ้านผาลาด หมู่ที่ 3 |
10. | บ้านคะแนง | ||||
4. | บ้านวังถ้ำ | 11. | บ้านกอก | ||||
5. | บ้านแฮะ | 12. | บ้านผาลาดใหม่ | facebook |
|||
6. | บ้านน้ำมิน | 13. | บ้านน้ำมินเหนือ | ||||
7. | บ้านน้ำลาว | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลอ่างทอง อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านเนินสามัคคี | 8. | บ้านสันปูเลย | ||||
2. | บ้านดอยอิสาน | 9. | บ้านปางมดแดง | ||||
3. | บ้านหล่ายพัฒนา | 10. | บ้านปางมดแดงใหม่ | ||||
4. | บ้านบ่อน้อย | 11. | บ้านเนินสายกลาง | ||||
5. | บ้านหนองบัวเงิน | 12. | บ้านจำบอนใหม่ | facebook |
|||
6. | บ้านนาเจริญ | 13. | บ้านนาเจริญ | ||||
7. | บ้านจำบอน | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ตำบลทุ่งผาสุข อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | บ้านหัวทุ่ง | 5. | บ้านหัวทุ่งใหม่ | ||||
2. | บ้านทุ่งควบ | 6. | บ้านทุ่งผาสุข | ||||
3. | บ้านผาฮาว | 7. | บ้านใหม่เจริญ | ||||
4. | บ้านไร่แสนสุข | ||||||
รวมลิงค์หน่วยงานในเชียงคำ ท่านสามารถคลิ๊กเข้าชมเว็ปไซต์และเฟรชบุ๊คของหน่วยงานต่างๆของอำเภอเชียงคำเราได้เลยนะครับ |
|||||||
ดอยผาขามและอ่างน้ำยวน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชื่อสถานที่ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | กว่าจะมาเป็นแม่น้ำยวน 1 | 10. | ตำนานนกหัสดิลิงค์ | ||||
2. | กว่าจะมาเป็นแม่น้ำยวน 2 | 11. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 1 | ||||
3. | กว่าจะมาเป็นแม่น้ำยวน 3 | 12. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 2 | ||||
4. | ที่มาโครงการอ่างเก็บน้ำยวน 1 | 13. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 3 | ||||
5. | ที่มาโครงการอ่างเก็บน้ำยวน 2 | 14. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 4 | ||||
6. | เสียงน้อยๆคอยติดตามอ่างฯ | 15. | เรื่องเล่าดอยผาขาม 5 | ||||
7. | ดอยผาขามตำนานสอนใจ 1 | 16. | ถ้ำผาแดง-ถ้ำน้ำลอด | ||||
8. | ดอยผาขามตำนานสอนใจ 2 | 17. | ยอดวิวดอยผาขาม | ||||
9. | ตำนานพระสนธนมโนราห์ | 18. | ถ้ำรูปหน้าคนที่บ้านห้วยปุ้ม | ||||
ข้อมูลประวัติและรูปภาพชนชาติพันธุ์ต่างๆ | |||||||
ชนชาติพันธุ์ในไทยและที่มีอยู่อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา | |||||||
ที่ | ชนชาติพันธุ์ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | ชนชาติพันธุ์ / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | ชนชาติพันธุ์ไตยวน | 12. | ชนชาติพันธุ์ลาหู่หรือมูเซอ | ||||
2. | ชนชาติพันธุ์ไทลื้อ | 13. | ชนชาติมลาบรีหรือผีตองเหลือง | ||||
3. | ชนชาติพันธ์ุเผ่าเมี่ยนหรือเย้า | 14. | ชนชาติพันธุ์ภูไท | ||||
4. | ชนชาติพันธุ์เผ่าม้งหรือแม้ว | 15. | ชนชาติพันธุ์ลาวโซ่ง | ||||
5. | ชนชาติพันธุ์อีสาน | 16. | ชนชาติพันธุ์ส่วยหรือชาวกูย | ||||
6. | ชนชาติพันธุ์ไทใหญ่ | 17. | ชนชาติพันธุ์ชาวมอญ | ||||
7. | ชนชาติพันธุ์ปกากญอ | 18. | ชนชาติพันธุ์ชาวเล | ||||
8. | ชนชาติพันธุ์อาข่าหรืออีก้อ | 19. | ชนชาติพันธุ์ชาวใต้ | ||||
9. | ชนชาติพันธุ์ขมุ | 20. | ชนชาติพันธุ์ละหว้าหรือลัวะ | ||||
10. | ชนชาติพันธุ์ไทเขิน | 21. | ศูนย์อพยพภูซาง | ||||
11. | ชนชาติพันธุ์ลาวเวียง ลาวครั่ง |
อาหารการกินคนเมืองล้านนา | |||||||
อาหารการกินคนเมืองล้านนา | |||||||
ที่ | เรื่อง / เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ที่ | เรื่อง/ เว็ปไซต์ คลิ๊ก | ||||
1. | อาหารล้านนาบ้านเฮา | 1. | น้ำพริกเห็ดด่าน | ||||
2. | ดอกงิ้ว ทำน้ำขนมจีน | 2. | เห็ดดิน เห็ดเหลือง เห็ดแดง | ||||
3. | อ่อมจิ้นล้านนา | 3. | เห็ดถอบ | ||||
4. | แกงมะฟักใส่ไก่ | 4. | เห็ดขอนขาว | ||||
5. | แกงผักปั๋ง | 5. | เห็ดลม | ||||
6. | น้ำพริกน้ำผัก | 6. | เห็ดฟาง | ||||
7. | ส้ามะลิดไม้ | 7. | ผัดเผ็ดหมูป่า | ||||
8. | น้ำพริกมะกอก | 8. | เห็ดหูหนูหรือเห็ดโล๊ะหละ | ||||
9. | อาหารที่ทำจากมดส้ม | 9. | ลาบหมี่หมู | ||||
10. | คั่วดอกหอมใส่ไข่ | 10. | ส้มตำประเภทต่างๆ | ||||
11. | มะแขว่นเครื่องปรุงรสล้านนา | 11. | ไส้ย่าง | ||||
12. | อาหารที่ทำจากจี้กุ่ง | 12. | แมงมันของบ่เขียม | ||||
13 | หวายของป่าหากินยาก | 13. | ยำปลากระป๋อง | ||||
14. | แกงกระด้าง | 14. | ข้าวกั๊นจิ้น | ||||
15. | แกงขนุน | 15. | ข้าวแรมฟืน | ||||
16. | แกงผักหละ หรือ ผักชะอม | 16. | ตัวต่อ น้ำพริกต่อ | ||||
17. | ส้ากุ้งหรือกุ้งเต้น | 17. | แกงหน่อไม้ใส่เห็ดอีกหม้อ | ||||
18. | น้ำพริกข่าต้มเห็ดถอบ | 18. | ยำหน่อไม้ใส่น้ำปู | ||||
19. | มะนอยน้อย | 19. | ส้าใบมะม่วง | ||||
20. | จิ้นส้มคนเมือง | 20. | แกงหน่อไม้ | ||||
21. | แกงหวายอีกแบบ | 21. | ตำขนุน | ||||
22. | แกงหอย | 22. | แกงผักชะอม | ||||
23. | ยำไก่เมืองเหนือเฮา | 23. | คั่วผักหม | ||||
24. | แกงหยวกกล้วย | 24. | ข้าวซอย | ||||
25. | ยำปลาแห้ง | 25. | อ๊อกปู๋นา สุดยอดอาหาร | ||||
26. | ตำเตา | 26. | ไส้อั่ว | ||||
27. | แกงแค | 27. | ส้มตำข้าวเหนียวไก่อบฟาง | ||||
28. | แก๋งมะบวบ | 28. | หลามปลาหลามเนื้อ | ||||
29. | คั่วยอดฟักทอง | 29. | ยำไส้ตัน | ||||
30. | แกงผักจี | 30. | ปลานึ่ง | ||||
31. | แกงหนัง | 31. | จี้กุ่งทอด | ||||
32. | ห่อนึ่งประเภทต่างๆ | 32. | ปลาเผาจิ้มน้ำพริก | ||||
33. | ตำถั่วฝักยาว | 33. | ขุดปูนา | ||||
34. | น้ำพริกจี้กุ่ง และจี้กุ่งทอด | 34. | ห่อนึ่งเห็น | ||||
35. | จิ้นนึ่งกับน้ำพริกข่า | 35. | ขนมข้าวควบ | ||||
36. | น้ำพริกหนุ่ม | 36. | ขนมข้าวแคบ | ||||
37. | ตำมะเขือยาว | 37. | ต้มโคล้งปลา ต้มยำปลา | ||||
38. | ตำมะเหิด หรือ มะระขี้นก | 38. | ไก ตะ สาหร่ายน้ำจืด | ||||
39. | น้ำพริกมะขามสด | 39. | หม่าขี้เบ้า | ||||
40. | น้ำพริกอ่อง | 40. | ต้นดอกงิ้ว | ||||
41. | ยำหน่อไม้ | 41. | แอปเปิ้ลเมือง | ||||
42. | น้ำพริกหนุ่มแคปหมู | 42. | ข้าวหนึกงา | ||||
43. | ตำถั่วฝักยาวอีกแบบ | 43. | ข้าวหนมเหนียบ | ||||
44. | ยำงูสิงห์ | 44. | ขนุนสุก | ||||
45. | ข้าวหนมปาด | 45. | มะรื่นหรือมะมื่น | ||||
46. | ข้าวหนมแตน | 46. | หม่ามู้ หรือ หม่ากู้ | ||||
47. | หมอบั่วหอมเตียม | 47. | ต้นมะแขว่น | ||||
48. | น้ำผึ้งเดือนห้า | 48. | ตั๊กแตนข้าว | ||||
49. | ขนมที่ทำจากกล้วย | 49. | มะหลอด | ||||
50. | หลามปลา | 50. | มะปราง | ||||
51. | มะม่วงหิมพานต์ | 51. | หนอนไม้ไผ่ | ||||
52. | ปลาหมึกย่าง | 52. | ข้าวเหนียวมะม่วง | ||||
53. | ไก่อบฟาง | 53. | น้ำพริกมะขาม | ||||
54. | จะค่าน เครื่องปรุงรส สุดยอด | 54. | มดส้มหรือมดแดง | ||||
55. | ด้วงสาคู ด้วงมะพร้าว | 55. | เรื่องกล้วยๆ | ||||
56. | ไส้หมูย่าง | 56. | แกงเห็ดลมเห็ดกระด้าง | ||||
57. | มะม่วงหิมพานต์ | 57. | กำกิ๋นบ้านเฮา | ||||
58. | ข้าวเหนียวมะม่วง | 58. | อาหารคนเมือง | ||||
59. | มะหลอดผลไม้ล้านนา | 59. | รวมอาหารล้านนาเฮา | ||||
60. | ตองและกล้วยป่า | 60. | ดอกคำปุ๋ยหรือดอคำฝอย |